กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4174
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorชญาดา ราศรีจันทร์
dc.contributor.authorชัยณรงค์ ศรีมันตะ
dc.contributor.authorสกุล อ้นมา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned2021-06-16T06:42:15Z
dc.date.available2021-06-16T06:42:15Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4174
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดสภาวะมนุษย์ในปรัชญากฤษณมูรติโดยศึกษาข้อมูลจากหนังสือ งานเขียน วิดีโอ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ในเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า สภาวะมนุษย์ในปรัชญากฤษณมูรติสามารถมองได้หลายมิติ เพราะมนุษย์มีชีวิตที่มีเงื่อนไขจากความกลัว ความทะเยอทะยานและความปรารถนา ความสับสน ความริษยา และใช้ชีวิตที่มีทุกข์ขัดแย้งกัน มนุษย์สร้างโลกนี้ขึ้นมาโดยมีตัวตนและการรับรู้ต่าง ๆ จากประสาทสัมผัสที่ถูกบดบัง กล่าวคือ มนุษย์ต่างถูกลวงให้มืดมนจากความจริงและการแสวงหาความรู้ แต่อย่างไรก็ตามมนุษย์สามารถมีอิสรภาพได้ กฤษณมูรติไม่ต้องการให้ผู้คนยึดติดในแนวคิดของเขาจึงกระตุ้นให้ตื่นรู้อย่างมีสติรู้สึกตัวในทุกสภาวะจิตใจ มีการสืบสวนอย่างที่มันเป็นอยู่จริงโดยปราศจากการตัดสิน เขาเชื่อว่า ในการตื่นรู้ทั้งหมดโดยรวมว่าเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับจิตใจที่เสรีนั้นทำได้th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectปรัชญาอินเดียth_TH
dc.subjectความตระหนักth_TH
dc.subjectการรับรู้ตนเองth_TH
dc.subjectสาขาปรัชญาth_TH
dc.titleสภาวะมนุษย์ในปรัชญากฤษณมูรติth_TH
dc.title.alternativeHuman condition in Krishnamurti’s philosophyen
dc.typeArticleth_TH
dc.issue2th_TH
dc.volume28th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the research is to study concepts of human condition in Krishnamurti’s philosophy from books, writings, video as well as the related research. The data was analyzed and synthesized systematically, and finally, presented in a descriptive manner. The research findings were as follows: The human conditions in the philosophy of Krishnamurti can be viewed in many dimensions because all humans have their life conditioned by fears, ambitions, desires, confusions, envies and suffer confliction. Humans created this world with existence of self and the various senses from the conscious were obscured. Humans are deceived by the truth and knowledge, but they have the freedom to choose. Krishnamutri does not want people to accept his ideas. He encourages the awareness of self-consciousness; the mind should be investigative of the truth and honest without judgment. He believes in total awareness as being essential for a free mind.en
dc.journalวารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.page55-81.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
huso28n2p55-81.pdf610.98 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น