กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4148
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจุฑามาศ แหนจอน
dc.contributor.authorวรากร ทรัพย์วิระปกรณ์
dc.contributor.authorศศินันท์ ศิริธาดากุลพัฒน์
dc.contributor.authorภาคภูมิ บำรุงราชภักดี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2021-06-15T01:39:33Z
dc.date.available2021-06-15T01:39:33Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4148
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของ โปรแกรมเสริมสร้างความจำ ใช้งานด้วยสติต่อความจำใช้งาน และสติในนิสิตปริญญาตรีที่มีความวิตกกังวล กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตปริญญาตรีที่ลงทะเบียนในรายวิชาการศึกษาทั่วไปของภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาประยุกต์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีการศึกษา 2560 ภาคเรียนที่ 2 มีคะแนนความวิตกกังวลจากแบบวัดความวิตกกังวลระดับปานกลาง คือ ตั้งแต่ 35 คะแนนขึ้นไปและสมัครใจเข้าร่วมการทดลอง จำนวน 52 คน สุ่มอย่างง่ายโดยการจับฉลากและจับคู่คะแนนแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 26 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรมเสริมสร้างความจำใช้งานด้วยสติที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นบนหลักการพื้นฐานของการฝึกสติ การยอมรับและพันธะสัญญา และการฝึกหัดการรู้คิดตามแบบจำลองความจำใช้งาน 2 ) แบบทดสอบการเรียงลำดับตัวเลขและตัวอักษร 3) มาตรวัดสติ ตระหนักรู้ สนใจจดจ่อ: ฉบับภาษาไทย และ 4) แบบวัดความวิตกกังวลของสปิลเบอร์เกอร์ กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมเสริมสร้างความจำใช้งานด้วยสติ สัปดาห์ละ 2 ครั้งๆ 50 นาที รวม 8 ครั้ง ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการเรียนการสอนปกติจากมหาวิทยาลัย กลุ่มตัวอย่างได้รับการประเมินความจำใช้งาน สติและความวิตกกังวลก่อนทดลองและหลังทดลอง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิเคราะห์ ความแปรปรวนพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า โปรแกรมเสริมสร้างความจำใช้งานด้วยสติมีประสิทธิผลในการเสริมสร้างความจำใช้งานและลดความวิตกกังวลในนิสิตปริญญาตรีที่มีความวิตกกังวลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกจากนี้พบว่านิสิตปริญญาตรีกลุ่มทดลองมีระดับสติสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectความจำth_TH
dc.subjectการรู้คิดth_TH
dc.subjectจิตวิทยาth_TH
dc.subjectความวิตกกังวลth_TH
dc.titleผลของโปรแกรมเสริมสร้างความจำใช้งานด้วยสติในนิสิตปริญญาตรีที่มีความวิตกกังวลth_TH
dc.title.alternativeThe effects of mindfulness based working memory training program in anxious undergraduate studenten
dc.typeArticleth_TH
dc.issue1th_TH
dc.volume31th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this developmental research were to study the effectiveness of the mindfulness based working memory training program (MBWM) on working memory, dispositional of mindfulness, and anxiety in anxious undergraduate students. The sample consisted of the freshmen undergraduate students who registered in the general education courses of Department of Research and Applied Psychology in the second semester of the 2017 academic year at Burapha University. The sample was selected again by employed the moderate anxiety score of the state-trait anxiety inventory (≥ 35 score). They were voluntary and willing to participate in this research project. The samples were assigned to the two groups by random assignment and matching into two groups: an experimental group and a control group, 26 students in each group. The instruments were 1) The MBWM program was the psychological training for promoting working memory. The MBWM program was designed by the researcher based on mindfulness, acceptance and commitment therapy, and cognitive training in working memory model, 2) the letter number sequencing (LNS) test, 3) the mindful awareness attention scale: Thai version, 4) the State-Trait Anxiety Inventory. The experimental group received the MBWM program which composed of 8 sessions, each session lasted for 50 minutes. The measurements were done in 2 phases: pre-test and posttest. The data were analyzed by multivariate analysis of variance (MANOVA). The findings were revealed that the MBWM program was effective in promoting the working memory and was effective in the reduction of anxiety with statistical significance at .05 level. For the effective in the promotion of mindfulness disposition found that only the undergraduate student in the experimental group had higher levels of mindfulness disposition in pretest phase than posttest phase with statistical significance at .05 level but it no different when compare with the control groupen
dc.journalวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.page169-182.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
edu31n1p169-182.pdf605.5 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น