กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4101
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorธีระวัฒน์ จันทึก
dc.contributor.authorกนกอร เนตรชู
dc.contributor.authorดำรงพล แสงมณี
dc.contributor.authorพรเทพ นามกร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2021-05-27T06:19:38Z
dc.date.available2021-05-27T06:19:38Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4101
dc.description.abstractรูปแบบการบริหารจัดการเชิงนโยบายเพื่อขับเคลื่อนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสู่ความยั่งยืน ตามแนวทาง PESTLE มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามแนวทาง PESTLE และเพื่อนำทฤษฎีอรรถประโยชน์พหุลักษณ์มาใช้ในการจัดลำดับความสำคัญของรูปแบบการบริหารจัดการเชิงนโยบายเพื่อขับเคลื่อนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสู่ความยั่งยืน ตามแนวทางPESTLE ได้แบ่งการวิจัยออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ การสัมภาษณ์เชิงลึก และประเมินอรรถประโยชน์พหุลักษณ์ ผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ นักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญ และอาจารย์มหาวิทยาลัยที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จำนวน 17 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์ และแบบประเมินอรรถประโยชน์พหุลักษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิจัยคือ ค่าความถี่ ร้อยละ และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) และการประยุกต์เทคนิคกระบวนการตัดสินใจแบบวิเคราะห์ลำดับชั้น (Analysis Hierarchy Process: AHP) กับผู้ให้ข้อมูลหลัก 7 คน โดยผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามแนวทาง PESTLE ประกอบด้วย สถานการณ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี กฎหมาย และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม 2) การนำทฤษฎีอรรถประโยชน์พหุลักษณ์มาใช้ในการจัดลำดับความสำคัญของรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสู่ความยั่งยืน ผลการวิเคราะห์ น้ำหนักความสำคัญของรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสู่ความยั่งยืน พบว่า น้ำหนักความสำคัญของรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสู่ความยั่งยืน ด้านการปรับปรุงกฎหมายที่มีความขัดแย้งและทำให้เกิดช่องว่าง หรืออุปสรรคในการดำเนินงาน มีค่ามากที่สุด รองลงมาคือ การดำเนินงานตามข้อเสนอการปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจให้กับประชาชน โดยมีค่าน้ำหนักความสำคัญเท่ากับ 49.34, 27.62 และ 23.04 ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์อัตราส่วนความสอดคล้องของทุกด้านที่ได้มีค่าเท่ากับ 0.080 – 0.096 โดยมีค่าน้อยกว่า 0.01 อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ สอดคล้องในทุกมิติ จึงสรุปได้ว่า ผู้เชี่ยวชาญเห็นด้วยกับรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสู่ความยั่งยืน สามารถนำรูปแบบดังกล่าวไปใช้ได้th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการจัดการสิ่งแวดล้อมth_TH
dc.subjectการจัดการทรัพยากรธรรมชาติth_TH
dc.subjectสิ่งแวดล้อมth_TH
dc.subjectสาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์th_TH
dc.titleรูปแบบการบริหารจัดการเชิงนโยบายเพื่อขับเคลื่อนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสู่ความยั่งยืน ตาม แนวทาง PESTLEth_TH
dc.title.alternativePolicy management model to drive natural resources and the environment towards sustainability according to PESTLE Guidelinesen
dc.typeArticleth_TH
dc.issue2th_TH
dc.volume12th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativePolicy management model to drive natural resources and the environment towards sustainability according to PESTLE guidelines has objectives for analyzing natural resources and environmental management according to PESTLE guideline and using multi-utility theory to prioritize Policy management model to drive natural resources and the environment towards sustainability according to PESTLE guidelines. This research has been divided into 2 parts namely, in-depth interview and multi-utility assessment. Key informants for 17 persons are academics, specialists and university professors who are expert in natural resources and environmental management. Research tools are the interview and multi-utility assessment, statistic used in this research are frequency, percentage and content analysis and Analysis Hierarchy Process (AHP) with key informants for 7 persons. Research result found that 1) Natural resources and environmental management according to PESTLE guideline consists of political situation, economy, social, technology, law and environmental factor. 2) Using Multi-utility theory to prioritize natural resources and environmental management model to sustainability, analysis result, priority level of natural resources and environmental management model to sustainability found that priority level of natural resources and environmental management model to sustainability in aspect of law adjustment that is conflict and causes gap or obstacle in operation has the most value, follow by an operation according to country reform proposal in natural resources and environment, then advocating knowledge to public have priority level equal to 49.34, 27.62 and 23.04 respectively. the results of analysis Hierarchy Process (AHP) on consistency of all dimensions were ranged from 0.080 – 0.096 with the lowest value of 0.01 that was in acceptable level and consistent ion all dimensions. It could be concluded that the experts agreed with the Model of Natural Resources and Environment Management for Sustainability and it could be applied.en
dc.journalวารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมายth_TH
dc.page197-217.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
politic12n2p197-217.pdf635.23 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น