กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4081
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorศรัญญา ประสพชิงชนะ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned2021-05-23T04:14:35Z
dc.date.available2021-05-23T04:14:35Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4081
dc.description.abstractวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษาประวัติศาสตร์เมืองกัลกัตตา แคว้นเบงกอล อินเดีย ที่มีวิวัฒนาการควบคู่ไปกับบริบททางด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ภายใต้เงื่อนไขในสมัยการปกครองของอังกฤษตั้งแต่ ค.ศ. 1690-1911 และเพื่อศึกษาการขยายตัวของเมืองกัลกัตตาและการสร้างสถาปัตยกรรมภายใต้อิทธิพลของอังกฤษตั้งแต่ ค.ศ. 1690-1911 ผลการวิจัยพบว่า นับตั้งแต่ ค.ศ. 1690-1858 ที่อังกฤษได้เข้ามาตั้งสถานีการค้า และสร้างป้อมปราการชื่อป้อมวิลเลียม และต่อมาได้ขยายตัวเป็นเมืองกัลกัตตา โดยเริ่มต้นจากการขยายตัวไปตามแนวแม่น้ำฮุกลีจากทิศเหนือสู่ทิศใต้ โดยบริเวณจัตุรัสดัลเฮาซีได้รับการพัฒนาให้เป็นพื้นที่ศูนย์กลางการปกครองของเมืองกัลกัตตา อันก่อให้เกิดการสร้างงานสถาปัตยกรรมขึ้นเพื่อรองรับงานในโครงสร้างทางการเมืองการปกครอง โดยเฉพาะทางด้านการทหารและเศรษฐกิจ จนกระทั่งเกิดเหตุการณ์กบฏซีปอย (ค.ศ. 1857-1858) นับเป็นจุดเปลี่ยนที่สำคัญ เพราะทำให้รัฐบาลอังกฤษเข้ามาปกครองอินเดียในฐานะอาณานิคมโดยตรง ส่งผลให้การขยายตัวเมืองและการสร้างสถาปัตยกรรมเมืองกัลกัตตา หลัง ค.ศ. 1857 มีการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้สอดคล้องกับรูปแบบการปกครองในฐานะอาณานิคมโดยตรง ทั้งทางด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมของอังกฤษ และเป็นอาคารที่แสดงให้เห็นถึงสถาปัตยกรรมยุคอาณานิคมที่ได้รับอิทธิพลจากอังกฤษได้ชัดเจนที่สุด จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1911 ได้มีการย้ายเมืองหลวงไปที่เดลีth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectสถาปัตยกรรม - - อินเดีย.th_TH
dc.subjectสถาปัตยกรรม - - อินเดีย- - อิทธิพลอังกฤษth_TH
dc.subjectสถาปัตยกรรมกับประวัติศาสตร์- - อินเดีย.th_TH
dc.subjectประวัติศาสตร์th_TH
dc.titleการขยายตัวของเมืองกัลกัตตาและการสร้างสถาปัตยกรรมภายใต้อิทธิพลของอังกฤษตั้งแต่ ค.ศ. 1690-1911th_TH
dc.title.alternativeThe expansion of Calcutta and its architecture under British influence since 1690-1911 A.D.en
dc.typeArticleth_TH
dc.issue3th_TH
dc.volume28th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research study are: to study the history of Calcutta (Kolkata now), Bengal which has evolved in parallel with the political, administrative, economic, social and cultural contexts under the conditions of British rule from 1690-1911 A.D. and to study the growth of Calcutta and the creation of architecture under the influence of England from 1690 to 1911 A.D. The research found that from 1690 to 1858 A.D., Britain had established trading centers and built a fortress called ‘Fort William’ and later Calcutta areas then had expanded starting from the north along the Hooghly River down to the south. The Dalhousie Square area was developed to be the administrative center of Calcutta. It can be noticed from its architecture that it was planned to support the political and administrative structure, especially the military and economy. The Sepoy Rebellion (1857-1858 A.D.) can be an important turning point in India. It can be seen that the expansion of the city and architecture in Calcutta after 1857 has directly changed and improved through politics, economy, society and culture of England by the colonial rule. The art and architectural style of Calcutta, Bengal at that time then can reflect the power of British Colonial Empire. Until 1911, the capital was moved from Calcutta to Delhi.en
dc.journalวารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์th_TH
dc.page190-213.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
huso28n3p190-213.pdf1.37 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น