กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4079
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorพงศ์เทพ จิระโร
dc.contributor.authorอาพันธ์ชนิต เจนจิต
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2021-05-23T03:25:44Z
dc.date.available2021-05-23T03:25:44Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4079
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินการส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา รวมตัวกันเป็นเครือข่ายที่มีการพัฒนาวิชาชีพแบบ PLC เพื่อประเมินสมรรถนะการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนและครูผ่านกระบวนการ PLC เพื่อประเมินความร่วมมือ และการเป็นหุ้นส่วนทางวิชาการและวิชาชีพระหว่างสถาบันอุดมศึกษาในพื้นที่ ภาคเอกชนและหน่วยงานทางการศึกษากับคุรุสภา และเพื่อประเมินองค์ความรู้ที่เกิดจากกระบวนการ PLC สรุปผลวิจัย นวัตกรรมการสอน ซึ่งเป็นผลการดำเนินงาน PLC พบว่า ส่วนใหญ่นวัตกรรมการสอนเป็น BBL (Brain-Based Learning) (ร้อยละ 61.01) สำหรับผลเกิดกับผู้เรียนเป็นการพัฒนาด้านพุทธิพิสัยมากที่สุด (ร้อยละ 44.09) บรรลุวัตถุประสงค์การสอนโดยรวมส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก (ร้อยละ 77.96) จำนวนครูสมาชิกเครือข่ายส่วนใหญ่กลุ่มละ 0-5 คน (ร้อยละ 60.06) จำนวนนักเรียนแต่ละกลุ่มส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 21-50 คน (ร้อยละ 66.77) และพบว่าจำนวนชั่วโมง PLC ครูส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 51-75 ชั่วโมง (ร้อยละ 81.79) การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างชนิดของนวัตกรรมการสอนที่นำมาใช้ในกระบวนการ PLC กับผลสัมฤทธิ์หรือผลอื่นๆ ของนักเรียน โดยการทดสอบค่าไคสแควร์ (Chi-square) พบว่า ชนิดของนวัตกรรมการสอนมีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 การศึกษาความสัมพันธ์ โดยสูตรสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (rxy) พบว่าจำนวนชั่วโมง PLC ที่ได้มีความสัมพันธ์กับประสบการณ์การสอนในทิศทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวนนักเรียนในกลุ่มเครือข่ายมีความสัมพันธ์กับจำนวนชั่วโมง ประโยชน์ที่ได้รับจาก PLC และผลประเมินรวมในทิศทางลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 จำนวนชั่วโมง PLC มีความสัมพันธ์ในทิศทางบวกกับประโยชน์ที่ได้รับจาก PLC และผลประเมินรวม และประโยชน์ที่ได้รับมีความสัมพันธ์กับผลประเมินรวมในทิศทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพth_TH
dc.subjectชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ -- การประเมินth_TH
dc.subjectการพัฒนาบุคลากรth_TH
dc.subjectครูth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleการวิจัยกำกับ ติดตาม และประเมินผล การจัดกิจกรรมพัฒนาวิชาชีพแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ของเครือข่ายทางการศึกษาที่รับเงินทุนอุดหนุนกิจกรรมพัฒนาวิชาชีพของคุรุสภา : กรณีศึกษาภูมิภาคตะวันออกth_TH
dc.title.alternativeSupervising, monitoring and evaluating the professional learning community, activities management of networks with the financial support of the Teachers Council of Thailand : A case study of eastern regionen
dc.typeArticleth_TH
dc.issue3th_TH
dc.volume13th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to assess the promotion and support for educational professionals to form a network with PLC, to assess competency and quality development of learners and teachers through the PLC process, to assess cooperation academic and professional partnership between higher education institutions in the area and educational agencies with the Teachers Council of Thailand and to assess the knowledge generated by the PLC process. Research summary: Teaching innovation, which is a result of PLC operations, found that the majority of teaching innovation is Brain Based Learning (61.2%). The result which the learners have is the most cognitive development (44.09%). Achieving most of the teaching objectives at a good level (77.96%). The number of teachers, most network members 0-5 Teachers (60.0%). The number of students in each group is mostly between 21 - 50 (66.77%). And found that most PLC hours are between 51-75 hours (81.79%). The relationship between the type of teaching innovation applied. With the achievement or other results of the students. By testing the Chi-square value, it was found that the type of teaching innovation correlated with student achievement with statistical significance at the level of 0.001. The correlation study using the rxy formula showed that the number of PLC hours had a relationship with the teaching experience in a positive with a statistical significance at the level of .05. The number of students in the network group is related to the number of hours. Benefits of PLC and negative evaluation results with statistical significance at the level of 0.01. The number of PLC hours is positively correlated with the benefits from the PLC and the overall assessment results. And the benefits are related to the overall assessment results in a positive with statistical significance at the level of 0.05.en
dc.journalวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of education, Burapha Universityth_TH
dc.page12-16.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
edu31n3p12-26.pdf114.62 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น