กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4039
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorณิชกานต์ ภีระคำ
dc.contributor.authorญาณิดา รักษ์ชูชีพ
dc.contributor.authorเขมมารี รักษ์ชูชีพ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะเภสัชศาสตร์
dc.date.accessioned2021-04-17T10:48:55Z
dc.date.available2021-04-17T10:48:55Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4039
dc.descriptionโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (เพิ่มเติม)th_TH
dc.description.abstractในการวิจัยเรื่อง “เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่เป็นโรคอัลไซเมอร์ก่อนและหลังได้รับการรักษาด้วยยา Rivastigmine และยา Galantamine ในประเทศไทย ปี พ.ศ.2560” กาหนดวัตถุประสงค์ในการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่เป็นโรคอัลไซเมอร์ก่อนและหลังได้รับการรักษาด้วยยา Rivastigmine และยา Galantamine ในประเทศไทย ปี พ.ศ.2560 2) เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่เป็นโรคอัลไซเมอร์ก่อนและหลังได้รับการรักษาด้วยยา Rivastigmine และยา Galantamine ในประเทศไทย ปี พ.ศ.2560 และ 3) เพื่อศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่เป็นโรคอัลไซเมอร์หลังได้รับการรักษาด้วยยา Rivastigmine และยา Galantamine ในประเทศไทย ปี พ.ศ.2560 การวิจัยครั้งนี้ ใช้รูปแบบการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) ผู้ให้ข้อมูลสาคัญ (Key Informant) ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ ผู้ดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคอัลไซเมอร์โรงพยาบาลรัฐในกรุงเทพมหานครและจังหวัดชลบุรีโดยใช้สัมภาษณ์แบบเจาะลึกตัวต่อตัว (in-depth interview) คณะผู้วิจัยได้กาหนดจานวนของผู้ให้ข้อมูลหลัก จานวน 30 คน แบ่งเป็นผู้ดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคอัลไซเมอร์ ที่ใช้ยา Rivastigmine จานวน 15 คน และผู้ดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคอัลไซเมอร์ที่ใช้ยา Galantamine จานวน 15 คน ภาพรวมผลการวิจัยพบว่า ยา Rivastigmine มีผลช่วยด้านการนอนหลับและสุขภาวะทางอารมณ์ ความใส่ใจ ความจา ลดความเครียดหรืออารมณ์ซึมเศร้าอาจจะได้ดีกว่าผลที่พบในตัวยา Galantamine แต่ยา Rivastigmin มักพบปัญหา คลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายท้องบ่อยจากการใช้ยา หรือปัญหาการดึงแผ่นแปะโดยตัวผู้ป่วย ในขณะที่ ยา Galantamine แทบไม่พบผลข้างเคียงจากการใช้ยา ดังนั้นการรับประทานยางทั้ง 2 ตัวดังกล่าวช่วยให้ผู้ป่วยมีการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นทั้งด้านร่างกาย ด้านสังคม ด้านการทางานของจิตประสาท การนอนหลับ ช่วยยืดอายุของผู้ป่วยให้อายุยาวนานขึ้นถึงประมาณ 14 ปีเป็นอย่างมาก ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์มักพบความบกพร่องในด้านความจา ภาษา ทักษะ ความรู้สึก ความใส่ใจ ทักษะการตีความ การรู้กาลเทศะและบุคคล การแก้ปัญหา และความสามารถในการทาหน้าที่ความเครียด ทาให้ผู้ป่วยใช้ชีวิตประจาวันได้ยากลาบากขึ้น การได้รับยาทั้ง Rivastigmine และ Galantamine จะช่วยให้ผู้ป่วยใช้ชีวิตได้ดีขึ้นเช่น ชะลอตัวของการสูญเสียความทรงจา ปรับปรุงการทางานกับความรู้ความเข้าใจ ช่วยให้คนที่ทุกข์ทนทรมานนอนไม่หลับสามารถหลับได้เร็วขึ้นและเพลิดเพลินกับคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของการนอนหลับ ทาให้เพิ่มศักยภาพในการนอนหลับ พร้อมกันนี้ควรมีกิจกรรมที่ใช้ทักษะทางปัญญาเช่น อ่านหนังสือ เล่นหมากกระดาน เล่นดนตรี ตามที่ ชุติมา ทองวชิระ (บทคัดย่อ: 2553) ได้ทาการศึกษาเรื่อง ผลของบาบัดทางการพยาบาล โดยใช้ดนตรีร่วมกับการจัดสิ่งแวดล้อมต่อพฤติกรรมกระวนกระวายของผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม พบว่า การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการบาบัดทางการพยาบาล โดยใช้ดนตรีร่วมกับการจัดสิ่งแวดล้อมต่อพฤติกรรมกระวนกระวายของผู้สูงอายุที่ภาวะสมองเสื่อมโดยใช้แนวคิดสองแนวคิดได้แก่ แนวคิดในการใช้ดนตรีบาบัดของ Gardner (1997) และแนวคิดในการจัดการสิ่งแวดล้อม ของผู้สูงอายุที่มีภาวะของสมองเสื่อมของ Hall (1988) พบว่า พฤติกรรมกระวนกระวายเริ่มลดลงตั้งแต่เข้าร่วมกิจกรรมบาบัดดังกล่าว การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ผสมผสานกับการออกกาลังกาย และรับประทานอาหารครบทุกหมู่ การบาบัดและดูแลผู้ป่วยโดยเฉพาะบทบาทของผู้ดูแล ซึ่งมักจะเป็นญาติหรือคู่สมรสอาจจะช่วยชะลอความรุนแรงของโรคอัลไซเมอร์ได้ การพูดได้หลายภาษาก็อาจจะชะลอการเกิดโรคอัลไซเมอร์ได้เนื่องจากต้องใช้ความจา ความคิด ความอ่าน ผสมผสานกัน นอกจากนี้ควรปรับเปรียบสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัยและวิถีชีวิตช่วยให้ผู้ป่วยมีความปลอดภัยมากขึ้นและช่วยลดภาระของผู้ดูแลได้ดีขึ้น การเอาใจใส่ดูแลเรื่อง การรับประทานยาอย่างตรงเวลาคือ สิ่งที่จาเป็นในการชะลอการเกิดโรคอัลไซเมอร์พร้อมกันนี้การดูแลที่ใกล้ชิดและอบอุ่นจะเป็นการเพิ่มความสุขและสภาวะอารมณ์ที่ดีให้กับผู้ป่วยพร้อมทั้งปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยที่สร้างความสดชื่นเบิกบานให้กับผู้ป่วยบางครั้งควรนาผู้ป่วยออกไปเที่ยวนอกสถานที่เพื่อสร้างความเพลิดเพลินให้กับผู้ป่วยเป็นครั้งคราว การรับประทานอาหารพวกผักและผลไม้ ข้าวสาลี ธัญพืช ปลา และไวน์ สามารถลดช่วงเวลาการเป็นโรคอัลไซเมอร์ได้th_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ - - การใช้ยาth_TH
dc.subjectโรคอัลไซเมอร์ - - การรักษาth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่เป็นโรคอัลไซเมอร์ก่อนและหลังได้รับการรักษาด้วยยา Rivastigmine และยา Galantamine ในประเทศไทยปี พ.ศ. 2560th_TH
dc.title.alternativeThe comparison on the quality of life in patients with alzheimer's disease : before and after the treatment of rivastigmine and galantamine in Thailand 2017en
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailnichakan@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailkhemaree@buu.ac.thth_TH
dc.year2560th_TH
dc.description.abstractalternativeResearch on the subject of “The comparison on the quality of life in patients with Alzheimer’s disease: before and after the treatment of Rivastigmine and Galantamine in Thailand 2017.” The research objectives were as follows. 1. To conduct the comparison study on quality of life in patients with Alzheimer’s disease: before and after the treatment of Rivastigmine and Galantamine in Thailand 2017. 2)To study the quality of life in patients with Alzheimer’s disease before and after the treatment of Rivastigmine and Galantamine in Thailand 2017 3)To study on quality of life development in patients with Alzheimer’s disease after the treatment of Rivastigmine and Galantamine in Thailand 2017. This study adopted the Qualitative research method. The key informants of this research were the care-takers for patients with Alzheimer’s diseasein the public hospital in Bangkok and Chonburi. Thein-depth interview was used by the researcher decided to use 30 key informants in which divided into 15 patients with Alzheimer’s disease who were treated by Rivastigmine and another 15 patients with Alzheimer’s disease who were treated by Galantamine. Overall, the research found thatRivastigmine treatment can enhance the condition of sleep, emotional wellbeing, attention, memory, lower depression or emotional depression in which might be better than the result fromGalantamine treatment. However,Rivastigmine normally found with Nausea, vomiting, frequentdefecation or patch pulling off by the patient. While Galantamine treatment found without any side effect. Thus, taking both drugs helped developing better quality of life in patients on their physical, social, psychological processing, sleeping as well as extending their life time up to 14 years at most. The patients with Alzheimer’s disease usually found to have malfunction in memory, language, skills, feelings, attention, interpretation skills, awareness on appropriateness and person, problem solving and ability to form stress in which led to more difficult in the daily life of patients.Receiving bothRivastigmine and Galantaminewould help the patients to have better living such as the slower of memory loss, improving the functions and knowledge and understanding that would help those suffering from sleepless to sleep faster and please with their better quality of life from sleeping and increasing the sleeping potential. Together, there shall be the activities to use the intellectual skillsuch as reading, play chess, and play music. According to Chutima Thongwachira (Abstract:2010)who studied on the result of medical treatment by using music and environmental arranging toward the nervous behavior of elderly with Dementia , it was found that this semi experimental research aimed to study on the result of medical treatment with music and environmental arranging toward the nervous behavior of elderly with Dementia. This study adopted two concepts of music therapy byGardner (1997)and environmental arranging toward the nervous behavior of elderly with Dementia of Hall (1988). It was found that the nervous behaviors had reduced since joining into the therapy, social engagement, together with exercising and have all groups of nutrients diet, the therapy and care taking of patients. Especially the roles of care takers who usually were the cousin or couple that can help lower the violence of Alzheimer’s disease. Speaking many languages may slower the occurrence of Alzheimer’s disease since it required memorizing, thinking, and reading altogether. Besides, it required to adjust the living environment and way of life to help the patient safer and reduce the burdens of care taker. Caring on punctual drug taking time was necessary to slower the Alzheimer’s disease. Also, close and warm caring would add more happiness and emotional wellbeing to the patients as well as adjusting the living environment to add the lively for them and sometimes bringing them outside would amuse the patients. In addition, having vegetables and fruits, wheat, grains, fish and wine could also reduce the time in Alzheimer condition.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_203.pdf3.7 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น