กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4032
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสุบัณฑิต นิ่มรัตน์
dc.contributor.authorวีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2021-04-14T02:59:45Z
dc.date.available2021-04-14T02:59:45Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4032
dc.descriptionโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่อง การประยุกต์ใช้สมุนไพรไทยเพื่อควบคุมแบคทีเรียก่อโรคในคนและสัตว์น้ำใน ถุงน้ำเชื้อกุ้งแชบ๊วยที่เก็บรักษาแบบแช่แข็งแบบเทคโนโลยีดั้งเดิมและแบบกล่องโฟม ในปีที่ 2 เป็น การศึกษาถึงการใช้สารสกัดสมุนไพรไทยจำนวน 2 ชนิด ได้แก่ สารสกัดใบมะรุม และสารสกัดขิง เปรียบเทียบกับสารปฏิชีวนะผสมที่มีประสิทธิภาพ คือ Penicillin-streptomycin ในการเก็บรักษา ถุงน้ำเชื้อกุ้งแชบ๊วยแบบแช่แข็งโดยใช้เครื่องแช่แข็งแบบอัตโนมัติ เป็นระยะเวลานาน 1 ปี ผลการศึกษา พบว่า สารสกัดใบมะรุมความเข้มข้น 0.1 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร มีศักยภาพเหมาะสมในการเก็บรักษา ถุงน้ำเชื้อกุ้งแชบ๊วย เนื่องจากสามารถรักษาเปอร์เซ็นต์สเปิร์มที่มีชีวิตของกุ้งแชบ๊วยให้มีคุณภาพ ดีเยี่ยมตลอดการเก็บรักษาเป็นระยะเวลานาน 1 ปี โดยมีคุณภาพไม่แตกต่างจากน้ำเชื้อที่เติม ยาปฏิชีวนะ Penicillin-streptomycin ความเข้มข้น 0.1% นอกจากนั้นยังสามารถลดปริมาณแบคทีเรีย กลุ่มเฮทเทอโรโทรปทั้งหมดด้วยประสิทธิภาพที่สูงกว่าการเติมยาปฏิชีวนะ Penicillin-streptomycin ความเข้มข้น 0.1% อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) หลังการเก็บรักษาเป็นระยะเวลา 1 ปี ต่อมา ทำการศึกษาถึงการเก็บรักษาถุงน้ำเชื้อกุ้งแชบ๊วยแบบแช่แข็งโดยการใช้กล่องโฟม เป็นระยะเวลานาน 3 เดือน พบว่าสารสกัดใบมะรุมและขิงมีประสิทธิภาพในการรักษาเปอร์เซ็นต์สเปิร์มที่มีชีวิตของ กุ้งแชบ๊วยได้ใกล้เคียงกันและไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) กับการเติมยาปฏิชีวนะ Penicillin-streptomycin ความเข้มข้น 0.1% ตลอดการเก็บรักษาเป็นระยะเวลา 3 เดือน แต่อย่างไร ก็ตามเมื่อประเมินถึงประสิทธิภาพในการลดปริมาณแบคทีเรียพบว่า สารสกัดขิงสามารถลดปริมาณ แบคทีเรียกลุ่มเฮทเทอโรโทรปทั้งหมดได้เทียบเท่ายาปฏิชีวนะ Penicillin-streptomycin ความ เข้มข้น 0.1% และสูงกว่าสารสกัดใบมะรุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05)th_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectแบคทีเรียก่อโรค - - การควบคุมคุณภาพth_TH
dc.subjectสมุนไพร - - การใช้ประโยชน์th_TH
dc.subjectสมุนไพรth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการประยุกต์ใช้สมุนไพรไทยเพื่อควบคุมแบคทีเรียก่อโรคในคนและสัตว์น้ำในถุงน้ำเชื้อกุ้งแชบ๊วยที่เก็บรักษาแบบแช่แข็งแบบเทคโนโลยีดั้งเดิมและแบบกล่องโฟมth_TH
dc.title.alternativeApplication of Thai medicinal plants for controlling human and aquatic animals pathogenic bacteria in Penaeus merguiensis spermatophores cryopreserved by conventional method and styrofoam boxen
dc.typeResearchth_TH
dcterms.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.author.emailsubunti@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailverapong@buu.ac.thth_TH
dc.year2560th_TH
dc.description.abstractalternativeThis research work entitles “Application of Thai medicinal plants for controlling human and aquatic animals pathogenic bacteria in Penaeus merguiensis spermatophores cryopreserved by conventional method and styrofoam box”. This study was the second year which aimed to study the application of two types of ethanolic medicinal herb extracts: moringa (Moringa oleifera L.) and ginger rhizome (Zingiber officinale Roscoe) in comparison with efficacious antibiotic cocktails (penicillin-streptomicin) for cryostorage of banana prawn spermatophore using automatic cryofreezer for 1 year. Results showed that 0.1 mg/mL of ethanolicmoringa- leaf extract was capable of suitably cryopreserving banana prawn spermatophore because of retaining percentage of sperm viability over 1 year of the experiment. Similar percentages of viable sperm in banana prawn spermatophore supplemented with penicillin-streptomycin (0.1%) were observed throughout 1 year cryostorage. In addition, 0.1 mg/mL of ethanolic moringa leaf extract showed significantly reduced total heterotrophic bacteria, compared to those in the experiments with the use of 0.1% penicillin-streptomycin in cryostored banana prawn spermatophore for 1 year. Then the study of Penaeus merguiensis spermatophores cryopreserved by styrofoam box for 3 months was evaluated. Results showed that moringa (Moringa oleifera L.) and ginger rhizome (Zingiber officinale Roscoe) extracts were able to retain percentage of sperm viability similar to penicillin-streptomycin (0.1%) treatment for 3-month of experimental period. However, for the efficiency of total heterotrophic bacterial reduction, ethanolic-ginger-rhizome extract can decrease the total heterotrophic bacteria similar to those in penicillin-streptomycin (0.1%) treatment and better than those in ethanolic-moringa-leaf extract treatment significantly (P<0.05).en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_196.pdf7.01 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น