กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4000
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจักริน สุขสวัสดิ์ชนth
dc.contributor.authorชิดชนก เหลือสินทรัพย์th
dc.contributor.authorอุรีรัฐ สุขสวัสดิ์ชนth
dc.contributor.authorเหมรัศมิ์ วชิรหัตถพงศ์th
dc.contributor.authorวรวิทย์ วีระพันธุ์th
dc.contributor.authorณัฏฐิณี ธีรกุลกิตติพงศ์th
dc.date.accessioned2021-01-04T06:29:43Z
dc.date.available2021-01-04T06:29:43Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4000
dc.descriptionได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562th_TH
dc.description.abstractโครงการวิจัยพัฒนาแบบจำลองเภสัชสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจโดยใช้ฐานข้อมูลภาพดิจิตอล 3 มิติ พิสูจน์เอกลักษณ์ของยารูปแบบเม็ดและแคปซูลในประเทศไทย: ยาปฏิชีวนะ ภายใต้แผนงานวิจัยนวัตกรรมการบริหารจัดการเทคโนโลยีเภสัชกรรมสารสนเทศด้วยวิธีการพิสูจน์เอกลักษณ์ภาพดิจิตอลทางยาและสมุนไพรสำหรับประยุกต์ใช้ในการพัฒนาอนุภาคนาโนสำหรับบรรจุ ยาและงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านความปลอดภัย จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาเภสัชกรรมสารสนเทศด้านข้อมูลยาปฏิชีวนะในประเทศไทยเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลยาปฏิชีวนะ เพื่อเป็นแหล่งให้ความรู้กับประชาชนและใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการตัดสินใจสำหรับเภสัชกร ซึ่งงานวิจัยได้ทำการวิเคราะห็และออกแบบฐานข้อมูลสำหรับเก็บข้อมูลยาปฏิชีวนะ ทั้งข้อมูลพื้นฐานและภาพถ่ายเม็ดยาและบรรจุภัณฑ์ โดยเลือกใช้วิธีการจัดเก็บแบบฐานข้อมูลไม่สัมพันธ์ (NoSql Database) ซึ่งมีความยืดหยุ่นในการออกแบบ และรองรับการจัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ในการอนาคต นอกจากนั้นในงานวิจัยมีการพัฒนาขั้นตอนวิธีที่มีประสิทธิภาพในการค้นหาข้อมูลยา โดยใช้คำค้น คำอธิบาย และรายละเอียดของภาพดิจิตอลของยาปฏิชีวนะในประเทศไทยและอนุภาคนาโนสำหรับบรรจุยาจากฐานข้อมูล ผลการ ดำเนินงานการออกแบบฐานข้อมูล พัฒนาออกมาเปaนเว็บแอปพลิเคชันเพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ทุกที่ ทุกเวลา ซึ่งผู้ใช้สามารถค้นหาข้อมูลยาได้จากชื่อยา สี รูปทรง และประเภทของยา และการออกแบบนี้รองรับการใช้ภาพถ่ายของยาจากผู้ใช้เพื่อค้นหาข้อมูลยาได้ ผลการทดลองของขั้นตอน วิธีการค้นหายาด้วยรูปภาพถ่าย ด้วยวิธีการ Mask R-CNN ร่วมกับ วิธีการ K-Mean พบว่าทั้งสองวิธีมีประสิทธิภาพในการวิเคราะห์รูปร่างและสีของเม็ดยา โดยมีความถูกต้องมากกว่าร้อยละ 95 แต่อย่างไรก็ตามยังในงานวิจัยนี้ยังมีข้อจำกัดในเรื่องแสงของการถ่ายภาพจากผู้ใช้ด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ทำให้ประสิทธิภาพในการตรวจจับสีและรูปร่างลดลงไป จากผลการทดลองดังกล่าวข้างต้นคณะผู้วิจัยได้นำมาพัฒนาแอปพลิเคชันที่ใช้ในการค้นหายาในฐานข้อมูลที่จัดเก็บจากภาพถ่าย ซึ่งประกอบด้วย เว็บแอปพลิเคชัน (www.clinicya.buu.ac.th) และต้นแบบของโมบายแอปพลิเคชันทั้งระบบปฏิบัติการแอนดรอยและไอโอเอสซึ่งสามารถต่อยอดในการใช้งานจริงได้ในอนาคตต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectเภสัชภัณฑ์th_TH
dc.subjectยาปฏิชีวนะth_TH
dc.subjectยา -- การบรรจุหีบห่อth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleการพัฒนาแบบจำลองเภสัชสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจโดยใช้ฐานข้อมูลภาพดิจิตอล 3 มิติ พิสูจน์เอกลักษณ์ของยารูปแบบเม็ดและแคปซูลในประเทศไทย: ยาปฏิชีวนะth_TH
dc.typeResearchen
dc.author.emailjakkarin@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailureerat@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailhemmarat@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailnuttinee@buu.ac.thth_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThe research project on pharmaceutical database development with pharmaceutical Informatics optimization modeling for natural antibiotic to active ingredients and pharmaceutical primary packaging identification of antibiotic drugs and drugs nanocarrier under the main project “ Pharmaceutical Informatics technology management innovation with drug and herbal digital image processing method application for drugs nanocarrier and consumer protection safety” , was to develop pharmaceutical informatics in antibiotic information in Thailand for collecting the antibiotic data, and to be a source of knowledge to the people. And this pharmaceutical database can be used as basis information for decision making for pharmacists. The research analyzed and designed the database for collecting antibiotic data in both basis information and photos of tablets and packaging. To store those pharmaceutical informatics, non-relational database (NoSql Database) is used because of the flexibility in design and supporting the large data storage in the future. In addition, this work developed an effective algorithm for finding drug information by using keywords, pill descriptions and details of digital images of antibiotics in Thailand and nanoparticles for packing drugs from the database. The research outcome was developed in a web application to utilize users to access pharmaceutical informatics anywhere, anytime. The users can search for the drug information from their names, drugs, colors, shapes and types of drugs. In addition, this research designed web application to support the searching drug information by using drug photos. The experimental results of drug image retrieval algorithms using the Mask R-CNN method and the K-Mean method were found that the proposed algorithms give the performance of the shape and color detection of the pill with more than 95% accuracy. However, there are still limitations on the light from taking the drug photographs from different equipments which can reduce the efficiency of color and shape detection. The researchers have also developed the application which can be used to search for drugs in the database. The application consists of web application (www.clinicya.buu.ac.th) and the mobile application prototype for both Android and iOS operating systems can be extended potential in the future.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_147.pdf17.15 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น