กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3976
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอมรรัตน์ กนกรุ่ง
dc.contributor.authorณิษา สิรนนท์ธนา
dc.contributor.authorสุพัตรา ตะเหลบ
dc.contributor.authorคคนางค์ รัตนานิคม
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned2020-10-12T01:22:39Z
dc.date.available2020-10-12T01:22:39Z
dc.date.issued2562
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3976
dc.descriptionงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนของรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562th_TH
dc.description.abstractจากการวิจัยได้ทำการคัดแยกสาหร่ายขนาดเล็กกลุ่มไดอะตอมเพื่อใช้เป็นเชื้อบริสุทธิ์ (pure microalgae) สำหรับการทดลองจำนวน 10 ชนิด คือ Chaetoceros sp., Ododtella sp., Thalassiosira sp., Actinoptyclus sp., Amphora sp., Bellerochea sp., Coscinodiscus sp., Entomoneis sp., Navicula sp. และ Cymatosira sp. เลี้ยงด้วยอาหารเหลวสูตร Guillard “f/2” จากการศึกษาการเจริญเติบโตของ Thalassiosira sp., Chaetoceros sp. และ Odontella sp. ที่เลี้ยงด้วยความเค็มแตกต่างกัน 4 ระดับ 10, 20, 30 และ 40 ส่วนในพันส่วน ในอาหารเหลวสูตร Guillard “f/2” อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ความเข้มแสง 4000 ลักซ์ โดยทำการให้แสงสว่าง 12 ชั่วโมง และไม่ให้แสงสว่าง 12 ชั่วโมง ทำการเพาะเลี้ยงเป็นระยะเวลา 6 วัน จากการศึกษาพบว่า สาหร่ายขนาดเล็กทั้ง 3 ชนิดมีการเจริญเติบโตดีสุดเมื่อทำการเลี้ยงด้วยระดับความเค็ม 30 ส่วนในพันส่วน ในการศึกษาปริมาณของแคโรทีนอยด์รวมของสาหร่ายทั้ง 3 ชนิด ที่เลี้ยงในสภาวะความเค็มแตกต่างกัน 3 ระดับ 20, 30 และ 40 ส่วนในพันส่วน พบว่า Thalassiosira sp. มีปริมาณของแคโรทีนอยด์รวมสูงสุดที่ระดับความเค็ม 20 ส่วนในพันส่วน (454.62 μg/g ของน้าหนักเปียก) สาหร่าย Chaetoceros sp.มีปริมาณของแคโรทีนอยด์รวมสูงสุดที่ระดับความเค็ม 20 ส่วนในพันส่วน (67.72 μg/g ของน้ำหนักเปียก) และสาหร่าย Odontella sp. มีปริมาณของแคโรทีนอยด์รวมสูงสุดที่ระดับความเค็ม 30 ส่วนในพันส่วน (187.00 μg/g ของน้าหนักเปียก) ผลของปริมาณธาตุอาหารไนโตรเจน (0.44, 0.88 (ชุดควบคุม) 1.76 และ 2.64 mM -L1) ต่อการเจริญเติบโตสาหร่ายขนาดเล็ก Thalassiosira sp., Chaetoceros sp. และ Odontella sp. พบว่าสาหร่ายทั้ง 3 ชนิด มีการเจริญเติบโตสูงสุดเมื่อเลี้ยงด้วยอาหารเหลวดัดแปลงสูตร 1 (1.76 mM-L1) ในส่วนของการศึกษา ชนิดและปริมาณของกรดไขมันในสาหร่าย 3 ชนิด (Thalassiosira sp., Chaetoceros sp. และ Odontella sp.) โดยเลี้ยงในระดับความเค็มแตกต่างกัน 3 ระดับ (20, 30 และ 40 ส่วนในพันส่วน) ด้วยอาหารเหลวสูตร Guillard “f/2” โดยใช้สาหร่ายที่มีการเจริญเติบโตอยู่ในระยะการเจริญเติบโตคงที่ (stationary phase) พบว่าสาหร่าย Thalassiosira sp. มีปริมาณกรดไขมันกลุ่ม PUFAs โอเมก้า 3 สูงสุดเมื่อเทียบกับสาหร่ายขนาดเล็กอีก 2 ชนิด Chaetoceros sp. และ Odontella sp.th_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectแคโรทีนอยด์th_TH
dc.subjectสาหร่ายth_TH
dc.subjectกรดไขมันth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleผลของความเค็ม และปริมาณไนโตรเจน ต่อการเจริญเติบโต, รูปแบบของกรดไขมัน และปริมาณแคโรทีนอยด์ ในสาหร่ายขนาดเล็กกลุ่มไดอะตอมth_TH
dc.title.alternativeThe effects of salinity and nitrogen concentration on growth, fatty acid profile and carotenoids content in the diatom groupen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailamonrat_@.buu.ac.thth_TH
dc.author.emailnisas@.buu.ac.thth_TH
dc.author.emailtaleb@go.buu.ac.thth_TH
dc.author.emailkhakhanang_r@yahoo.comth_TH
dc.year2562th_TH
dc.description.abstractalternativeThe current research, the diatom microalgae were classified into 10 species: Chaetoceros sp., Ododtella sp., Thalassiosira sp., Actinoptyclus sp., Amphora sp., Bellerochea sp., Coscinodiscus sp., Entomoneis sp., Navicula sp., and Cymatosira sp. for using as pure microalgae and the microalgae were cultured with Guillard “f/2” medium. From the study of the growth of Chaetoceros sp., Thalassiosira sp., and Odontella sp. which were cultured at 4 different salinity levels including 10, 20, 30, and 40 ppt in Guillard “f/2” medium, temperature 25ºC, and light supply intensity 4000 lux with 12:12 hour light/dark cycle, cultured for 6 days. The results showed that all 3 species of microalgae had the best growth when cultured at salinity level 30 ppt. In the study of the total carotenoid content of all 3 species of microalgae cultured at 3 different salinity levels including 20, 30, and 40 ppt founded that Thalassiosira sp. had the highest total carotenoid content at salinity level 20 ppt (454.62 μg/g of wet basis), Chaetoceros sp. had the highest total carotenoid content at salinity level 20 ppt (67.72 μg/g of wet basis), and Odontella sp. had the highest total carotenoid content at salinity level 30 ppt (187.00 μg/g of wet basis). Effect of nitrogen (0.44, 0.88 (controlled), 1.76, and 2.64 mM-L1) on the growth of microalgae i.e. Thalassiosira sp., Chaetoceros sp., and Odontella sp. founded that all 3 species showed the highest growth rate when were cultured in the medium of formula 1 (1.76 mM-L1). In the study of types and amount of fatty acids in 3 species of microalgae (Thalassiosira sp., Chaetoceros sp., and Odontella sp.) at 3 different level of salinity (20, 30, and 40 ppt) with Guillard “f/2” medium and using stationary growth phase microalge, the findings indicated that Thalassiosira sp. had the highest amount of PUFAs omega-3 fatty acid comparing with Chaetoceros sp. and Odontella sp.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_121.pdf1.38 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น