กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3951
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorถนอมศักดิ์ บุญภักดี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2020-09-08T06:33:45Z
dc.date.available2020-09-08T06:33:45Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3951
dc.description.abstractจากการศึกษาแพลงก์ตอนพืชบริเวณชายหาดวอนนภาและแหลมแท่น จังหวัดชลบุรี ในช่วงเดือนกันยายน 2560 – สิงหาคม 2561 พบแพลงตอนพืชทั้งหมด 25 สกุล โดยมีสกุลที่พบบ่อยได้แก่ Chaetoceros spp. Coscinodiscus spp. Protoperidinium sp. และ Ceratium furca โดยมีค่าดัชนีความหลากหลายของชนิด และค่าดัชนีความสม่ำเสมอของแพลงก์ตอนพืชบริเวณหาดวอนนภา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.71 และ 0.33 ส่วนบริเวณแหลมแท่นมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.89 และ 0.40 ตามลำดับ ตลอดระยะเวลาทำการวิจัยพบ ปรากฏการณ์น้ำทะเลเปลี่ยนสี 1 ครั้ง โดยเกิดจากแพลงก์ตอน Noctiluca scintillans ในช่วงปลายเดือนกรกฎาคม 2561 ที่ความหนาแน่นเซลล์มากกว่า 50000 cell/l และสารอินทรีย์แขวนลอยในน้ำทะเลช่วงที่เกิด red tide บริเวณชายหาดวอนนภาและแหลมแท่น มีปริมาณอินทรีย์คาร์บอน (POC) สัดส่วนของคาร์บอนต่อไนโตรเจน (C/N) สัดส่วนของคลอโรฟิลล์เอต่อคาร์บอนอินทรีย์ (POC/Chl a) ไอโซโทปเสถียรของคาร์บอน (δ13C) ไนโตรเจน (δ15N) และ เท่ากับ 5828±7795 μg/l, 4.32± 0.59 ,-20.18 ± 1.30 ‰ และ 8.64 ±2.17 ‰ ตามลำดับ ซึ่งมีค่าใกล้เคียงกับสารอินทรีย์แขวนลอยในทะเล (marine POM) และปริมาณไอโซโทป เสถียรของไนโตรเจนในไนเตรท (δ15N-NO3) ของน้ำทะเลในขณะที่เกิด red tide มีเท่ากับ 4.19 ± 2.85 ‰ บ่งชี้ว่าสารอินทรีย์ในแพลงก์ตอนพืชที่ทำให้เกิดปรากฎการณ์น้ำทะเลเปลี่ยนสีมีแหล่งที่มาจากสารอินทรีย์แขวนลอยในทะเล และไนเตรทในน้ำทะเลขณะที่เกิด red tide มิได้มาจากน้ำทิ้งจากกิจกรรมของมนุษย์th_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectน้ำทะเลเปลี่ยนสีth_TH
dc.subjectน้ำทะเลเปลี่ยนสี -- สาเหตุth_TH
dc.subjectแพลงตอนพืชth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการเฝ้าระวังและบ่งชี้สาเหตุการเกิดปรากฏการณ์น้ำทะเลเปลี่ยนสี (Red tide) บริเวณชายหาดบางแสน-วอนนภา ชลบุรีth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailthanomsa@buu.ac.thth_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativePhytoplankton occurrences in the Wonnapa beach and Laem Thaen, Chonburi were investigated twice a week from September 2017 to August 2018. In total, 25 genera of phytoplankton were found. The dominant genera found throughout the study were Chaetoceros spp., Coscinodiscus spp., Protoperidinium sp. and Ceratium furca. The Diversity and Evenness index of phytoplankton in the Wonnapha Beach were 0.71 and 0.33 whereas, Laem thaen had 0.89 and 0.40, respectively. There was only one red tide phenomenon occurring in late July to the beginning of August 2018. It caused by Noctiluca scintillans at more than 5 x 104 cell/l. Particulate organic matter in seawater during an occurrence of the red tide had values of particulate organic carbon (POC), carbon to nitrogen ratio (C:N), POC to chlorophyll a (POC/Chl a), stable isotopes of carbon (δ13C) and nitrogen (δ15N) as 5828±7795 μg/l, 4.32± 0.59 ,-20.18 ± 1.30 ‰ และ 8.64 ± 2.17 ‰, respectively. These values were closed to those of marine-derived organic matter. Values of δ15N in nitrate in seawater during the red tide was 4.19 ± 2.85 ‰. These indicate organic substances in red tide organisms derived from marine organic matter and nitrate in seawater during the red tide did not reveal to anthropogenic activities.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_098.pdf3.77 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น