กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3947
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorธราธร บุญศรี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2020-08-28T08:59:10Z
dc.date.available2020-08-28T08:59:10Z
dc.date.issued2562
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3947
dc.description.abstractปัจจุบันยาปฏิชีวนะมีหลายชนิด โดยที่ยาชนิดเดียวกันอาจมีรูปทรงและสีที่แตกต่างกันออกไป ส่งผลให้เภสัชกรไม่สามารถระบุชนิดของยาได้ทุกประเภท ส่งผลให้เกิดความผิดพลาดในการจ่ายยาให้กับผู้ป่วยจากปัญหาดังกล่าวข้างต้น ทางคณะผู้จัดทำจึงได้พัฒนาเครื่องวิเคราะห์ชนิดยาปฏิชีวนะแบบพกพา และออกแบบให้มีขนาดกระทัดรัดสะดวกต่อการนำไปใช้งานนอกสถานที่ ช่วยในการจัดจำแนกชนิดยา ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ประกอบด้วย วงจรปรับความสว่างแสง เซนเซอร์วัดความเข้มแสง และกล่องเว็บแคม ในส่วนของซอฟต์แวร์จะใชIโปรแกรม HALCON ในการจำแนกลักษณะของเม็ดยา หลักการในการจำแนกชนิดของยาปฏิชีวนะคือการจำแนกรูปทรง สี พื้นที่ เพื่อให้ได้ค่าพารามิเตอร์ออกมา หลังจากนั้นระบุชนิดของยาปฏิชีวนะเปรียบเทียบกับในฐานข้อมูลผ่าน API โดยการเปรียบเทียบค่าพารามิเตอร์ของยาปฏิชีวนะกับฐานข้อมูลจะต้องถูกต้องมากกว่าร้อยละ 80 และสั่งการผ่านเว็บแอปพลิเคชั่น เพื่อแสดงผลออกทางหน้าจอระบบสัมผัสที่ต่อกับ Raspberry Pi 3 จากการทดลองพบว่า ความถูกต้องของระบบ อยู่ที่ร้อยละ 99.91th_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectยาปฏิชีวนะth_TH
dc.subjectยาเม็ดth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleการพัฒนาชุดตรวจจับและพิสูจน์เอกลักษณ์ยารูปแบบเม็ดและแคปซูลอัตโนมัติชนิดพกพาth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of Automatic Portable Drug Identification Machineen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailtharatho@eng.buu.ac.thth_TH
dc.year2562th_TH
dc.description.abstractalternativeAt present, there are many types of antibiotics. By the same types of antibiotics there may be different shapes and colors. As a result, the pharmacist is not able to identify all types of medicines leading to dispense wrong medications to patients. from the above-mentioned problems, the project organizers therefore developed portable antibiotic analyzer machine and newly designed in compact size and suitable for carrying to work outside to assist pharmacists with the classification of antibiotics. The portable antibiotic analyzer machine is divided into 2 parts: hardware and software. The hardware consists of a brightness adjustment circuit, a light sensor, and a camera. In terms of software, the HALCON program is used to identify the characteristics of tablets. The tablet types are parameterized by their shapes, colors and areas. After that, compare those parameters with corresponding parameters in the database via an application programming interface (API). By comparing the parameters of the antibiotics, the similarity of parameters between the sample antibiotics and database must be more than 80 percent accuracy. And order through the web application to display the results on the touchscreen connecting with Raspberry Pi 3. From the experiment found that the accuracy of system is 99.91 percent.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_091.pdf17.1 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น