กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3917
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorภรณี ศรีปรีชาศักดิ์
dc.contributor.authorอนันต์ อธิพรชัย
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2020-04-30T07:35:48Z
dc.date.available2020-04-30T07:35:48Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3917
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอนุกรมวิธานและความหลากหลายทางชีวภาพของแอคติโนแบคทีเรียที่คัดแยกได้ตัวอย่างดินบริเวณเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่าเขาเขียว-เขาชมพู่ จังหวัดชลบุรีและคัดกรองฤทธิ์ต้านจุลชีพของเมแทบอไลต์ทุติยภูมิจากแอคติโนแบคทีเรียที่คัดเลือก จากการทดลองสามารถคัดแยกแอคติโนแบคทีเรียได้ทั้งหมด 132 ไอโซเลท ซึ่งจัดจำแนกออกเป็น 5 สกุล ได้แก่ Actinmadura (1.5%), Micromonospora (11.4%), Nocardia (6.1%), Nonomuraea (4.5%) และ Streptomyces (76.5%) โดยอาศัยลักษณะทางสัณฐานวิทยาร่วมกับลักษณะทางจีโนไทป์ ซึ่งประกอบด้วย การวิเคราะห์ลำดับเบสและความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการของยีน 16S rRNA และมีแอคติโนแบคทีเรีย จานวน 7 ไอโซเลท ที่มีแนวโน้มว่าเป็นแอคติโนแบคทีเรียสปีชีส์ใหม่ในสกุล Micromonospora (ไอโซเลท KK12-4 และ KK12-5) และสกุล Streptomyces (ไอโซเลท KK01-16, KK03-17, KK04-5, KK05-18 และ KK08-10) นอกจากนี้ยังได้ทดสอบฤทธิ์ต้านจุลชีพของ เมแทบอไลต์ทุติยภูมิที่ผลิตจากแอคติโนแบคทีเรีย พบว่า แอคติโนแบคเรียที่คัดแยกได้ จำนวน 46 ไอโซเลท (34.8%) สามารถผลิตเมแทบอไลต์ทุติยภูมิที่มีฤทธิ์ในการยั้บยั้งการเจริญของ Bacillus subtilis ATCC 6633, Micrococcus luteus ATCC 9341, Staphylococcus aureus ATCC 25923 หรือ Candida albicans ATCC 10231 และ Streptomyces ไอโซเลท KK06-20 เป็นสายพันธุ์ที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในการผลิตสารยับยั้งจุลชีพth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectอนุกรมวิธานth_TH
dc.subjectความหลากหลายทางชีวภาพth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการศึกษาทางเคมีและความหลากหลายทางชีวภาพของแอคติโนแบคทีเรียที่แยกได้จากดินในพื้นที่เขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่าเขาเขียว-เขาชมภู่th_TH
dc.title.alternativeChemistry and Biodiversity Studies of Actinobacteria Isolated from Soil in Khao Khieo - Khao Chomphu Wildlife Sanctuary Areaen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailparanees@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailanana@buu.ac.thth_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are to study the taxonomy and biodiversity of actinobacteria that isolated from soil samples in Khao Khieo - Khao Chomphu Wildlife Sanctuary Area, Chonburi Provine and screening for antimicrobial activity of secondary metabolites which produced from the actinobacteria. In the experiment, 132 isolates of actinobacteria were classified into 5 genera which were Actinmadura (1.5%), Micromonospora (11.4%), Nocardia (6.1%), Nonomuraea (4.5%) and Streptomyces (76.5%) based on morphological and genotypic characteristics by using sequencing and phylogenetic tree analysis of 16S rRNA gene. There were 7 isolates that tend to be new species in the genera Micromonospora (KK12-4 and KK12-5) and Streptomyces (KK01-16, KK03-17, KK04-5, KK05-18 and KK08-10). In addition, the antimicrobial activity of secondary metabolites from actinobacteria were determined. The secondary metabolites that produced from 46 isolates showed antimicrobial activity against Gram-positive bacteria; B. subtilis ATCC 6633, M. luteus ATCC 9341, S. aureus ATCC 25923 or yesast; Candida albicans ATCC 10231 and Streptomyces sp. KK06-20 was the most effective stain in antimicrobial metabolite production.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_060.pdf6.06 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น