กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3814
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorปัทมา ศรีน้ำเงิน
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์
dc.date.accessioned2020-03-28T12:00:07Z
dc.date.available2020-03-28T12:00:07Z
dc.date.issued2562
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3814
dc.description.abstractกล้วยไม้รองเท้านารี อยู่ในอนุสัญญาการค้าระหว่างประเทศว่าด้วยสัตว์ป่าและพันธุ์พืช (CITES) บัญชีที่ 1 ระบุว่ารองเท้านารีอยู่ในบัญชีพืชใกล้สูญพันธุ์ ห้ามซื้อขาย ยกเว้นเพื่อการศึกษา หรือขยายพันธุ์เทียมเท่านั้น เช่น การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง DNA barcode ของกล้วยไม้รองเท้านารีของไทย จำนวน 5 ชนิด ได้แก่ รองเท้านารีเหลืองปราจีน (Paphiopedilum concolor), รองเท้านารีเหลืองกาญจน์ (Paphiopedilum concolorvar.striatum), รองเท้านารีดอยตุงกาญจน์ (Paphiopedilum barbigerum var.vejvarutianum), รองเท้านารีเกาะช้าง (Paphiopedilum simensis), รองเท้านารีคางกอบคอแดง (Paphiopedilum appletonianum) ผลการศึกษาพบว่า ยีนมาตราฐาน rbcL, matK, rpoB และ rpoC1 มีขนาดประมาณ 700 750 650 และ 550 คู่เบส ตามลำดับ โดยพบว่ายีน มาตราฐาน rbcL และ matK, ดังกล่าวสามารถใช้นำมาพัฒนาเป็น barcoding เพื่อจำแนกชนิดพันธุ์ของกล้วยไม้รองเท้านารีได้เป็นอย่างดี นอกจากนี เมื่อศึกษาความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของกล้วยไม้รองเท้า นารีทั้ง 5 ชนิด ด้วยเทคนิคเครื่องหมายโมเลกุล SCoT พบว่า สามารถแบ่งกลุ่มได้ 2 กลุ่ม มีค่า cophenetic correlation (r) 0.99 และกล้วยไม้ร้องเท้ารีเกาะช้างแสดงการมีพันธุกรรมเดียวกับกล้วยไม้รองเท้านารีคางคบคอแดงได้อย่างถูกต้อง ดังนั้นผลการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ สามารถนำไปใช้ในการช่วยจำแนกชนิดและการอนุรักษ์ของกล้วยไม้รองเท้านารีได้เป็นอย่างดีth_TH
dc.description.sponsorshipได้รับทุนสนับสนุนโครงการวิจัยจากมหาวิทยาลัยบูรพา ประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรีth_TH
dc.subjectรองเท้านารีth_TH
dc.subjectดีเอ็นเอบาร์โค๊ตth_TH
dc.subjectลายพิมพ์ดีเอ็นเอth_TH
dc.subjectหญ้าทะเลth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการพัฒนาดีเอ็นเอบาร์โค้ดของกล้วยไม้สกุลรองเท้านารี (Paphiopedilum spp.) ในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a DNA Barcoding for Paphiopedilum spp. in Thailanden
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailpattama@buu.ac.thth_TH
dc.year2562th_TH
dc.description.abstractalternativeLady slipper orchids is in the Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora (CITES) are red list of threatened at risk for extinction. The International trade in specimens of these species is prohibited except when the purpose of the import is not commercial, for instance for scientific research, or when the plants are artificially propagated such as tissue culture. Therefore, the objective of this research was to construct the DNA barcoding of 5 species of Thai lady slipper orchids as Paphiopedilum concolor, Paphiopedilum concolorvar.striatum, Paphiopedilum barbigerum var.vejvarutianum, Paphiopedilum simensis and Paphiopedilum appletonianum. The results showed that the rbcL, matK, rpoB and rpoC1 were approximately 720, 900, 520 and 600 base pairs, respectively. The rbcL and matK genes can be used to develop as a barcoding for identification of lady slipper species. In addition, SCoT molecular marker technique was investigated to determine the genetic relationships for all 5 species. The phylogenetic tree was classified into 2 groups with cophenetic correlation (r) 0.99. Interestingly, Paphiopedilum simensis and Paphiopedilum appletonianum showed same genetic relationship. Therefore, the results of this technics can be used to identify the species of lady slipper orchids and conservation as well.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย(Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_309.pdf2.66 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น