กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3789
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอรอง จันทร์ประสาทสุข
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2020-03-01T03:52:35Z
dc.date.available2020-03-01T03:52:35Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3789
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามจุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องกับการหมักน้ำสับปะรด กลุ่มควีนพันธุ์ตราดสีทองแบบธรรมชาติ น้ำสับปะรดกลุ่มควีนพันธุ์ตราดสีทองอายุในระยะเก็บเกี่ยวจาก จ.ตราด มาคั้นน้ำทั้งเปลือกแล้วนำน้ำสับปะรดคั้นสดมาปล่อยให้เกิดการหมักแบบธรรมชาติที่อุณหภูมิห้อง (ประมาณ 28-30 องศาเซลเซียส) นาน 7 วัน ติดตามวิเคราะห์ ผลทางจุลชีววิทยาทุกวัน แล้วนำจุลินทรีย์ที่คัดแยกได้มาจัดจำแนกสายพันธุ์เบื้องต้นตามลักษณะโคโลนีและสัณฐานวิทยาของเซลล์ พบว่าจำนวนประชากรยีสต์และราในน้ำสับปะรดคั้นสดมีค่าเริ่มต้นเท่ากับ 6.1±0.1 log cfu/ml จากนั้นเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วประมาณ 2 log cycle ในช่วง 4 วันแรกของการหมัก โดยมีประชากรยีสต์และราทั้งหมดเท่ากับ 8.2±0.1 log cfu/ml ในวันสุดท้ายของการหมัก เมื่อนำยีสต์และรามาคัดแยกเบื้องต้น สามารถแบ่งยีสต์ และราได้เป็น 12 กลุ่ม คือ A B C D E F G H I J K และ L สำหรับจ้านวนประชากรแบคทีเรีย กรดแลคติกในน้ำสับปะรดคั้นสดมีค่าเริ่มต้นเท่ากับ 5.0±2.4 log cfu/ml และเพิ่มขึ้น 3 log cfu/ml ในระหว่างวันที่ 0-3 ของการหมัก โดยมีจำนวนประชากรสูงสุดเท่ากับ 8.1±0.3 log cfu/ml ในวันที่ 3 ของการหมัก เมื่อน้าแบคทีเรียกรดแลคติกมาคัดแยกเบื้องต้น สามารถ แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ A E และ H อย่างไรก็ตาม ไม่สามารถตรวจพบแบคทีเรียกรดอะซิติก ในระหว่างการหมักน้ำสับปะรดคั้นสดจากการศึกษานี้th_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงิน อุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectสัปปะรด - - การปลูกth_TH
dc.subjectสับปะรดth_TH
dc.titleการคัดแยกจุลินทรีย์ออโตโคนัสที่เกี่ยวข้องกับการหมักน้ำสับปะรดคั้นสดเป็นกล้าเชื้อสำหรับการผลิตน้ำผลไม้น้ำตาลต่ำth_TH
dc.title.alternativeIsolation of autochthonous microorganisms associated with fermentation of freshly crushed pineapple juice as starter culture for low sugar fruit juice productionen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailon_ong@buu.ac.thth_TH
dc.year2561th_TH
dc.description.abstractalternativeThe main goal of this study is to undertake the investigation of microorganism associated with spontaneous Queen pineapple juice fermentation. Initially, Queen pineapple, Trad-seethong varieties, samples at harvesting stage were collected from Trad Province. The natural fermentation of whole fresh crushed pineapple juice was conducted at ambient temperature (28-30°C) for 7 days. The microbiological properties of pineapple juice were monitored everyday throughout the fermentation. The basically characteristics of microorganism isolates were identified including colony and cell morphologies. The initial population of yeast and mold was 6.1±0.1 log cfu/ml and rapidly increased 2 log cycle in 4 days of fermentation. Yeast and mold population was 8.2±0.1 log cfu/ml at the final of fermentation. Based on the results of characterization, Yeast and mold were divided to 12 groups, i.e. A, B, C, D, E, F, G, H, I, J, K and L. Lactic acid bacteria population were found to have an initial value of 5.0±2.4 log cfu/ml and increased approximately 3 log cfu/ml during 1-3 days of fermentation. The maximum population was 8.1±0.3 log cfu/ml on day 3 of fermentation. Based on the results of characterization, lactic acid bacteria isolates were divided to 3 groups, i.e. A, E and H. However, acetic acid bacteria population were not found in this studyen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_284.pdf3.69 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น