กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/377
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัยth
dc.contributor.authorสุบัณฑิต นิ่มรัตน์th
dc.contributor.authorมานพ กาญจนบุรางกูรth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:47:31Z
dc.date.available2019-03-25T08:47:31Z
dc.date.issued2547
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/377
dc.description.abstractการพัฒนาวิธีการเก็บรักษาน้ำเชื้อปลาดุกอุย (claria macrocephalus) แบบแช่แข็งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษายความเป็นพิษของสารไครโอโพรเทคแทนท์ และศึกษาผลของการแช่แข็งด้วยอัตราการลดอุณหภูมิ อัตราการละลาย และระยะเวลาเก็บรักษาแตกต่างกันที่มีต่อการเคลื่อนที่ของสเปิร์ม โดยได้แบ่งการทดลองออกเป็น 4 ตอน คือตอนที่ 1 ทดสอบความเป็นพิษของสารละลายไครโอโพเทคแทนท์ 3 ชนิด ได้แก่ Dimerhyl sulfoxied (DMSO), methanol และ ethanol ที่มีความเข้มข้น 4 ระดับ (5%, 10% 15% และ 20%) ที่เวลา 0, 30, 60, 90, 120,150 และ 180 นาที และใช้อัตราส่วนน้ำเชื้อต่อสารละลายไครโอโพรเทคแทนท์ เท่ากับ 1: 1 พบว่า สารละลายไพรโอโพรเทคแทนท์ทั้ง 3 ชนิดมีความเป็นพิษต่อเสปิร์มอยู่ในเกณฑ์ที่ต่ำ เนื่องจากยังสามารถทำให้ สเปิร์ม มีชีวิตอยู่ได้นาน 180 นาที ตอนที่ 2 ได้ทำการเก็บรักษาน้ำเชื้อปลาดุกอุย แบบแช่แข็ง โดยใช้สารละลายไครโอโพรแทคแทนท์ 3 ชนิดคือ DMSO, methanol และ ethanol ความเข้มข้น 4 ระดับ (5%, 10% 15% และ 20%) และอัตราส่วนน้ำเชื้อต่อน้ำยาต่อสารละลานไครโอโพรเทคแทนท์ เท่ากับ 1 :1: 1 และใช้อัตราการลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็ว (10 องศาเซลเซียส ต่อนาที)อัตราการลดอุณหภูมิอย่างปานกลาง (5 องศาเซลเซียส ต่อนาที) และอัตราการลดอุณหภูมิอย่างช้า (3 องศาเซลเซียส ต่อนาที) พบว่าน้ำเชื้อปลาดุกอุยที่แช่แข็งด้วย DMSO มีการเคลื่อนที่หลังการละลาย (thawing) ที่อุณหภูมิ 70 c นาน 5 วินาที แต่น้ำเชื้อปลาดุกอุยที่แช่แข็งด้วย, methanol และ ethanol ไม่เคลื่อนที่หลังการละลาย ตอนที่ 3 ได้นำน้ำเชื้อปลาดุกอุยแช่แข็งมาละลายที่อุณหภูมิ 30, 50และ 70 องศาเซลซียส นาน 5 วินาที ไม่มีผลทำให้การเคลื่นที่ของสเปิร์มหลังการละลายมีค่าแตกต่างกันและการเก็บรักษาน้ำเชื้อปลาดุกอุยแช่แข็งในไนโตรเจนเหลวระหว่า 0-60 วันก็ไม่มีต่อการเคื่นที่ของสเปิร์มหลังการละลายเช่นกัน ตอนที่ 4 การปฏิสนธิของน้ำเชื้อปลาดุกอุยที่ผ่านการแช่แข็ง พบว่า การใช้สารละลาย 10 % DMSO, และ 5 % DMSO ที่ระดับอัตราการลดอถณหภูมิ 3 และ 5 องสาเซลเซียส ต่อนาที ให้เปอร์เซ็นอัตราการปฏิสนธิ ต่ำกว่าการใช้น้ำเชื้อสดในกลุ่มควมคุมth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2546 จากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectน้ำเชื้อ - - การเก็บและรักษาth_TH
dc.subjectปลาดุกอุย - - การขยายพันธุ์th_TH
dc.subjectปลาดุกอุยth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการประยุกต์ใช้เทคนิคการเก็บรักษาน้ำเชื้อปลาดุกอุยแบบแช่แข็งเพื่อการเพาะขยายพันธุ์th_TH
dc.title.alternativeApplication of cryopreservation technique on catfish spermatozoa for artificial propagationen
dc.typeงานวิจัย
dc.year2547
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was to evaluate the toxicity effect of cryoprotectanis on spam motility and study the effects of rate, thawing rate and strong period on sperm motility of Gunther’ s cattish () . In the first experiment. Three cryoprotectant solutions (DMSO methanol and ethanol) were prepared and diluted with catfish milt at four concentration levels (5%, 10%, 15%, and 20%) prior to assessment of sperm motility at different (0, 30, 60, 90, 120, 150 and 180 minutes) at a dilution ratio of 1:1. The results showed that the three cryoprotectants had lowtoxicity on sperm motility since the motility was maintained up to 180 minute before loss of motility. In the second experiment catfish milt was cryopreserved with the three cryoprotectant at four levels (5%, 10%, 15%, and 20%) using three rate of cooling (show freezing, medium freezing and fast freezing). The results indicated that only sperm samples cryopreserved with DMSO showed motility, while those cryopreserved with methanol and ethanol did not show sperm motility. There was no significant difference (p>0.05) in sperm motility of frozen samples after using various thawing rate difference (p>0.05) in the fertilization rate of catfish eggs after insemination with cryopreserved catfish sperm using 5% and 10% DMSO, although high fertilization rate was observed in the control group (freshly collected milt).en
dc.description.abstractalternative
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น