กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3760
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorยุทธภูมิ มีประดิษฐ์
dc.contributor.authorภักดี สุขพรสวรรค์
dc.contributor.authorฐิตินันท์ เอื้ออานวย
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะเภสัชศาสตร์
dc.date.accessioned2020-02-05T01:44:13Z
dc.date.available2020-02-05T01:44:13Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3760
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบเครื่องมือพิสูจน์เอกลักษณ์ทางยาโดยใช้กลยุทธ์การตลาดสำหรับการคุ้มครองผู้บริโภค มีวัตถุประสงค์ เพื่อค้นหาความต้องการที่เหมาะสมของการพัฒนาเครื่องมือพิสูจน์เอกลักษณ์ทางยา การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเทคนิคเดลฟาย (Delphi Technique) มีกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ 15 คน ได้แก่ เภสัชโรงพยาบาล 5 คน เภสัชกรชุมชน 5 คน และอาจารย์เภสัชศาสตร์ 5 คน สุ่มตัวอย่างแบบ purposive non probability sampling ทำการสอบถามสามรอบ ผลการวิจัยยพบว่า 1. ด้านสินค้าหรือความต้องการ ของลูกค้า ขนาดไม่ควรใหญ่มากเกินไป ไม่ควรเกิน 1 ฟุต ควรมีการใช้งานทีไม่ยุ่งยาก อ่านผลได้แม่นยำ เคลื่อนย้ายได้สะดวก สามารถเชื่อมต่อกับฐานข้อมูล อื่นได้ มีความปลอดภัยในการใช้งาน ควรใช้แสงให้สว่างน้อยที่สุด และทำเป็นรูปแบบแอปพลิเคชั่นในมือถือ 2. ด้านราคาหรือความคุ้มค่า ไม่ควรเกิน 10,000 บาท ให้มีผู้สนับสนุนออกค่าใช้จ่ายให้ครอบคลุมยาที่มีอยู่ในประเทศไทย มีการเชื่อมต่อฐานข้อมูลเป็นวงกว้าง 3. ด้านการจัดจำหน่ายหรือความสะดวกในการเข้าถึงสินค้า ควรมีในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องยา แผนกเภสัชกรรมควรเป็นเจ้าภาพในการดูแลเครื่องมือ 4. ด้านการสื่อสารให้เข้าถึงลูกค้าหรือการนำข้อมูลให้ลูกค้ารับรู้ ควรมีการอบรมการใช้งาน ประชาสัมพันธ์ให้บุคลากรด้านสาธารณสุข สรุป ทฤษฎีการตลาด 4P ประกอบด้วย สินค้า ราคา สถานที่ การรับรู้ สามารถ นำมาประยุกต์ใช้ในการค้นหาความต้องการเครื่องมือพิสูจน์เอกลักษณ์ของยา ได้ เพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปใช้สำหรับการเครื่องมือดังกล่าวหาเกิดขึ้นจริงในอนาคตth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบเครื่องมือพิสูจน์เอกลักษณ์ทางยาโดยใช้กลยุทธ์การตลาดสำหรับการคุ้มครองผู้บริโภคth_TH
dc.title.alternativeThe development of drug identification appliance by marketing strategy for consumer protectionen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailyutthapoom@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailphakdee@go.buu.ac.thth_TH
dc.author.emailatitinun@gmail.comth_TH
dc.year2561th_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to find the appropriate requirements of the development of drug identification tools. It was a qualitative research using Delphi Technique. The purposive sampling was a group of 15 experts, including 5 pharmacists working in hospitals, 5 community pharmacists and 5 Pharmaceutical Sciences lecturers. Three sets of questionnaires were administrated to obtain data. The results were fist, products or customers’ needs were the size should not be large more than 1 foot, easy to use, high accuracy, easy to move, easy to connect to other databases, able to use with low lights, and using the application platform for the mobile phone. Second, the price or value should not exceed 10,000 baht. The information in database should cover all medicines that are available in Thailand, and the database should be interconnected. For the distribution or accessibility of the products, there should have some agents which provide information about medicines, and the Pharmaceutical Department should host the agents. Lastly, communication to reach customers or to provide information to customers to know should have training courses for the public. In conclusion, the marketing mix theory, consisting of products, prices, locations, perceptions, can be applied to find the needs for drug identification tools in order to use the information that has been used for the alleged tools in the future.en
dc.keywordเอกลักษณ์ทางยาth_TH
dc.keywordกลยุทธ์ทางการตลาดth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_262.pdf987.79 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น