กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/369
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอนุกูล บูรณประทีปรัตน์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:47:30Z
dc.date.available2019-03-25T08:47:30Z
dc.date.issued2542
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/369
dc.description.abstractแบบจำลองทำนายการเคลื่นที่ของคราบน้ำมันที่รั่วไหลในทะเลได้ถูกทดสอบพื้นที่ 4 บรเวณในเขตอ่าวไทยตอนบน ได้แก่ บริเวณระหว่างเกาะสีชังและอำเภอศรีราชา, บริเวณกลางอ่าวไทยตอนบน บริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยา และบริเวฯบากแม่น้ำบางปะกง เป็นแบบจำลองที่อาศัยสมมติฐานว่าคราบน้ำมันดิบที่รั่วไหลในทะเลเปรียบเหมือนเป็นวัตถุลอยน้ำที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติตามเวลา จะเคลื่อนที่ไปตามแรงลับที่มากระทำ ซึ่งแรงลัพธ์นี้พิจารณาจากองค์ประกอบต่าง ๆ ได้แก่ กระแสน้ำที่เกิดจากการกระทำโดยลม (Ekman current), การเคลื่อนที่ที่เป็นผลมาจากคลื่น (Stokes drift), กระแสน้ำถาวรหรือกึ่งถาวรในพื้นที่ขนาดใหญ่ (Background current) และกระแสน้ำที่เกิดจากน้ำขึ้นน้ำลง (Tidal current) โดยที่กระแสน้ำขึ้นน้ำลงที่ใช้นั้นเป็นค่าที่ได้จากการคำนวณโดยแบบจำลองคำนวณกระแสน้ำอีกทีหนึ่ง การทดสอบความถูกต้องด้านของผลการทำนายของแบบจำลองทำนายการเคลื่อนที่ของคราบน้ำมันที่รั่วไหลในทพเล ทำโดยการเปรียบเทียบผลการทำนายกับการเคลื่อนที่ของแผ่นกระดาษเคลือบพลาสติก หรือ ดริฟการ์ด (drift cards) ที่ถูกปล่อยลงสู่ทะเลบริดวณที่ศึกษา พบว่าแบบจำลองให้ผลการคำนวณที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริงสำหรับการทดสอบในบริเวณระหว่างเกาะสีชัง และอำเภอศรีราชา ส่วนผลการทดลองที่บริเวณกลางอ่าวไทยให้ผลที่ไม่สอดคล้องกับการเคลื่อนที่ของดริฟการ์ดมากนักซึ่งเป็นผลมาจากการกระแสน้ำที่เกิดจากน้ำขึ้นน้ำลง ส่วนการทดสอบที่บริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยาและปากแม่น้ำบางประกงนั้น แบบจำลองไม่สามารถทำนายการเคลื่อนที่ของดริฟการ์ดได้ เพราะรายงานผลว่าบริเวณที่ทดสอบนี้เป็นแผ่นดิน ผลการตรวจสอบทั้งหมดจากการศึกษาทำให้ทราบถึงแนวทางในการปรับปรุงแบบจำลองทำนายการเคลื่อนที่ของน้ำมันดิบที่รั่วในพื้นที่บริเวณอ่าวไทยตอนบนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นในอนาคตth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาประจำปี 2542en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectกระแสน้ำ - - แบบจำลองทางคณิตศาสตร์th_TH
dc.subjectกระแสน้ำ - - ไทย (ภาคตะวันออก)th_TH
dc.subjectการเคลื่อนที่ของคราบน้ำมันth_TH
dc.subjectคราบน้ำมันth_TH
dc.titleการทดสอบความถูกต้องของแบบจำลองทำนายการเคลื่อนที่ของคราบน้ำมันที่รั่วไหลในอ่าวไทยตอนบนth_TH
dc.title.alternativeVerification of oil spill trajectory model in the upper gulf of Thailanden
dc.typeResearchth_TH
dc.year2542
dc.description.abstractalternativeAn oil spill trajectory was tested in the Upper Gulf of Thailand in 4 regions namely an area between Sichang Island and District, Middle of the Upper Gulf, near Chaopraya River mouth , and near Bangpakong River mouth.The model is based an assumption that spilled oil will act as a floating object on the sea surface moving in the direction of net forcing composed of Ekman current, Stoke drift motion, residual current, and computed tidal current. Laminated drift cards representing an oil slick were released on the surface and then tracked. Position were compared to the computational results from model, with measured wind and tidal current from a hydrodynamic model used as input. Results showed good agreement at the area between Sichang Island and Sriracha District,but rather poor results occurred at the Middle of the Upper Gulf, assuming incorrect tidal current. However, the model gave wrong prediction at the areas near Chaopraya River mouth, and near Bangpakong River mouth because they showed that these areas were lands not seas. All verification results let us perceive the way to modify this spill trajectory model in the future for oil spill emergency in shallow seas like the Gulf of Thailand.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น