กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3691
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสวามินี ธีระวุฒิ
dc.contributor.authorปฏิยุทธ์ ขวัญอ่อน
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-10-06T06:38:12Z
dc.date.available2019-10-06T06:38:12Z
dc.date.issued2562
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3691
dc.description.abstractการศึกษาผลของการเก็บรักษาหมึกกล้วยด้วยการแช่ในน้ำแข็งที่ผสมกรดอินทรีย์ที่ความเข้มข้นแตกต่างกันต่อคุณภาพของหมึกกล้วย ระดับความเข้มข้นของกรดอินทรีย์ที่ใช้แตกต่างกัน 4 ความเข้มข้น ได้แก่ IL02 (กรดแล็กติก 0.02%), IL05 (กรดแล็กติก 0.05%), ILC207 (กรดแล็กติก 0.02% และกรดซิตริก 0.075%) และ ILC210 (กรดแล็กติก 0.02% และกรดซิตริก 0.1%) เปรียบเทียบกับ หมึกกล้วยที่แช่ในน้ำแข็งปราศจากกรดอินทรีย์ (ICC) เป็นเวลา 21 วัน พบว่า การแช่หมึกกล้วยใน น้ำแข็ง ILC207 ช่วยชะลอการเปลี่ยนแปลงคุณภาพทางเคมี (TVB-N และ TMA-N) คุณภาพทาง กายภาพ (% cooking loss, สี และแรงเฉือน) คุณภาพทางจุลินทรีย์ (จำนวนจุลินทรีย์ทั้งหมด) และ คุณภาพทางประสาทสัมผัส (กลิ่น รสชาติและเนื้อสัมผัส) ได้ดีที่สุด รองลงมาได้แก่ ILC210, IL05, IL02 และ ICE0 ตามลำดับ เมื่อพิจารณาอายุการเก็บรักษาจากจำนวนจุลินทรีย์ทั้งหมด (ไม่เกิน 6 log CFU/g) หมึกกล้วยที่แช่ในน้ำแข็ง ILC207, ILC210, IL05 และ IL02 เก็บได้ 9, 6, 3 และ 3 วัน ตามลำดับ ส่วน ICC มีอายุการเก็บรักษา 3 วันth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์. มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectปลาหมึกกล้วยth_TH
dc.subjectกรดอินทรีย์th_TH
dc.titleการประยุกต์ใช้น้ำแข็งที่ผสมกรดอินทรีย์จากธรรมชาติเพื่อยืดอายุการเก็บรักษาหมึกกล้วยth_TH
dc.title.alternativeApplication of a Natural Organic Acid-Icing System to Prolong Shelf-life of Squidth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailsawamin@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailpatiyut_kw@rmutto.ac.thth_TH
dc.year2562th_TH
dc.description.abstractalternativeThe effect of natural organic acid-icing system on the quality of chilled squid by organic acid-icing system four conditions: IL02 ( 0.02% lactic acid) , IL05 (0.05% lactic acid), ILC207 (0.02% lactic acid and 0.075% citric acid) and ILC210 (0.02% lactic acid and 0.1% citric acid) were compared to squid were none organic acid-icing system during ice storage of 21 days was investigated. ILC207 was the most effectively retarded chemical (TVB-N and TMA-N), physical (% cooking loss, color and shear force) , microbiological ( total plate count) and sensorial ( odor, texture and tasty) qualities loss of cooked squid and were followed by ILC210, IL05, IL02 and ICC, respectively. Considering the shelf life of product by total bacterial count ( total bacterial count were not more than 6 log CFU/g). The shelf life of ILC207, ILC210, IL05 and IL02 were 9, 6, 3 and 3 days respectively. The shelf life of ICC was only 3 days.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_165.pdf2.89 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น