กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/359
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorขนิษฐา พงษ์ญาติ
dc.contributor.authorมนตรี แย้มกสิกร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:47:29Z
dc.date.available2019-03-25T08:47:29Z
dc.date.issued2551
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/359
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความต้องการจำเป็นของนิสิตด้านการจัดบริการเพื่อพัฒนานิสิต เพื่อจัดลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็นของนิสิตด้านการจัดบริการในการพัฒนานิสิตจำแนกตามสาขาวิชา และเพื่อเปรียบเทียบระดับความต้องการจำเป็นของนิสิตด้านการจัดบริการในการพัฒนานิสิตจำแนกตามประเภทของนิสิต กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือนิสิตชั้นปีที่ 1 ระดับปริญญาตรี คณะศึกษษศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีการศึกษา 2550ที่กำลังศึกษาอยู่ในสาขาต่างๆ รวม 16 สาขา ทั้งภาคปกติและภาคพิเศษ จำนวน 283 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นในรูปแบบการตอบข้อมูลสองชุดหรือการตอบสนองคู่ (Dual-response Format) ตามสภาพที่คาดหวังและสภาพที่เป็นจริงที่ตรงกับระดับความคิดเห็นของนิสิต มีการตอบด้วยการประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นของสภาพที่คาดหวังเฉลี่ยรวมทั้งฉบับได้ .985 ความเชื่อมั่นของสภาพที่เป็นจริงเฉลี่ยรวมทั้งฉบับได้ .970 ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ด้วยสถิติ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าฉลี่ยเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีความสำคัญของลำดับความต้องการจำเป็นแบบปรับปรุง (Modified Priority Need Index : PIN modified) การทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1. ความต้องการจำเป็นในการพัฒนานิสิตโดยภาพรวมทั้ง 5 ด้าน มีค่า PNI Modified เท่ากับ.366 โดยเรียงลำดับรายด้านจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ 1) ด้านการบริการด้านข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อนอสิต 2) ด้านการบริการด้านการแนะแนและการให้คำปรึกษา 3) ด้านการบริการด้านกายภาพที่ส่งเสริมคุณภาพชิวิตของนิสิต 4) ด้านการจัดโครงสร้างการพัฒนาประสบการณ์ทางวิชาชีพแก่นิสิตในรูปแบบต่าง ๆ และด้านสุดท้าย คือ 5 ) ด้านการบริการสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียน 2. ความจำเป็นโดยภาพรวมของนิสิตที่เรียนในแต่ละสาขา สามารถเรียงลำดับความต้องการจำเป็นได้ดังนี้ 1)สาขาวิชาการสอนเคมี 2)สาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์ 3)สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ 4) สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์ทั่วไป 5) สาขาวิชาการสอนชีววิทยา 6) สาขาวิชาการสอนฟิสิกส์ 7) สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 8) สาขาการสอนภาษาจีน 9) สาขาการสอนภาษาญี่ปุ่น 10) สาขาวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา 11) สาขาวิชาการสอนภาษาไทย 12) สาขาวิชาการศึกษษปฐมวัย 13) สาขาวิชาการสอนสุขศึกษาและพละศึกษา 14) สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 15) สาขาวิชานาฏยสังคีตและ 16)สาขาวิชาการสอนศิลปะตามลำดับ 3. นิสิตภาคปกติและนิสิตภาคพิเศษมีความต้องการจำเป็นด้านการจัดบริการในการพัฒนานิสิตที่แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.description.sponsorshipการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีงบประมาณ 2551en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectกิจกรรมของนักศึกษาth_TH
dc.subjectนักศึกษา - - การดำเนินชีวิตth_TH
dc.subjectนักศึกษา - - ไทยth_TH
dc.subjectสถาบันอุดมศึกษา - - ไทย - - นักศึกษา - - วิจัยth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleการประเมินความต้องการจำเป็นด้านการจัดบริการในการพัฒนานิสิตของนิสิตชั้นปีที่ 1ระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์th_TH
dc.title.alternativeStudent development service needs assessment of freshman students, undergraduate level, faculty of education, Burapha Universityen
dc.typeResearch
dc.year2551
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study the students’ need levels in student development service supply in order to arrange the student ‘need in term student’ need levels in student development service supply classifying from the student’ types. The sample selected of this research was the freshman students in Bachelor Degree Program, Faculty of Education, Burapha University year from 16 majors including both regular program. The sample consisted of 283 students. The research instrument was questionnaire towards needs assessment of student development service made by research with dual-response format at 5 ratinq scal measurement followed by both expected stage and authentic stage that were as same as the student’ though levels. There were reliability coefficients of total wxpected stage average at .985, and .970 for total authentic stage average. The Research statistics used in this study were frequency, percentage, mean ,standard, Modified Priority Need Index or PIN modified , and t-Test, witch analyzed by computer programs. The finding of this research were as follows : 1. The total need if student development including five issues of PIN modified equals .366 from the most issues to fewest as follow 1)The issues of information service benefiting towards the students. 2) The point of consultation and guidance services. 3) The point of physical service supporting the quality of the students’ levels. 4) The point of projects launch progress the student ‘ professional experience in different forms. 5) The point of facilities service supporting the students’ leaning. 2. The whole needs of the student studying different majors can be sequentially taken according to needs as follow 1) Chemistry Teaching Major 2) Mathematic Major. 3X English Language Teaching Major. 4X General Science Teaching Major. 5) Biology Teaching Major 6) Physics Teaching Major. 7)Social Studies, Religion and Culture Teaching Major. 8) Chinese Language Teaching Major 9) Japanese Language Teacghing.10) Educational Technology Major. 11) Thai Language Major. 12) Early Childhood Education Major. 13) Physical and Health Education teaching Major. 14) Industrial Technology Major. 15) Thai Music Teaching Major. 16) Art Teaching Major, respectively. 3. The need assessment in student development service of freshman student classified by regular program and special program students were not statistic significantly difference at .05en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น