กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3580
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorเขมมารี รักษ์ชูชีพ
dc.contributor.authorนภดล วงษ์น้อม
dc.contributor.authorวงพักตร์ ภู่พันธ์ศรี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2019-06-01T13:55:44Z
dc.date.available2019-06-01T13:55:44Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3580
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาอาชีวอนามัยของพนักงานระดับปฏิบัติการในอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาความปลอดภัยในที่ทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการในอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย 3) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค ของอาชีวอนามัยต่อความปลอดภัยในที่ทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการในอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย และ 4) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะต่าง ๆ ของอาชีวอนามัยต่อความปลอดภัยในที่ทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการในอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ประชากรที่ใช้คือพนักงานบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศภาคตะวันออก ตัวอย่างคือพนักงานบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย จำนวน 385 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างตามสะดวกเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์และการวิเคราะห์การถดถอยพหุอาชีวอนามัยในที่ทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการในอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด โดยอาชีวอนามัยในที่ทำงานด้านการป้องกันสูงที่สุด รองลงมาคือ ด้านการปกป้องคุ้มครอง ด้านการจัดการงาน ด้านการส่งเสริม และด้านการปรับงานให้เข้ากับคนและปรับคนให้เข้ากับงานความปลอดภัยในที่ทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการในอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยทุกด้านมีระดับของความปลอดภัยในที่ทำงานอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีความปลอดภัยในที่ทำงานด้านเครื่องอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลสูงที่สุด รองลงมาคือ ด้านการกำหนดนโยบาย ด้านการสอนงาน การฝึกอบรม การปฐมนิเทศ ด้านการจัดการพื้นที่โรงงาน ด้านการเก็บรักษาสารเคมี จัดการขนส่ง ขนถ่ายสินค้า ด้านระบบการตรวจความปลอดภัย การบันทึก การรายงานผล การเก็บรักษาข้อมูล ด้านผู้รับผิดชอบด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสภาพแวดล้อมที่ทำงาน ด้านงบประมาณ ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน ด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ด้านระบบเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงาน และด้านการแพทย์ การปฐมพยาบาลในการศึกษาอิทธิพลของอาชีวอนามัยในที่ทำงานที่มีต่อความปลอดภัยในที่ทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการในอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย พบว่า อาชีวอนามัยในที่ทำงานด้านการปรับงานให้เข้ากับคนและปรับคนให้เข้ากับงาน ด้านการป้องกัน ด้านการส่งเสริม ด้านการจัดการงาน และด้านการปกป้องคุ้มครอง มีอิทธิพลต่อความปลอดภัยในที่ทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการในอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยตามลำดับ โดยตัวแปรทั้งหมดสามารถอธิบาย ความผันแปรของความปลอดภัยในที่ทำงานได้ร้อยละ 63.6th_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรมth_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์th_TH
dc.subjectอาชีวอนามัยth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleอาชีวอนามัยต่อความปลอดภัยในที่ทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการ ในอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeOccupational health towards occupational safety of first level employee in electrical and electronics in Thailandth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2561th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are 1) to study Occupational Health of First Level Employee in Electrical and Electronics in Thailand. 2) to study Occupational Safety of First Level Employee in Electrical and Electronics in Thailand. 3) to study problems and obstacles of First Level Employee in Electrical and Electronics in Thailand 4) to study suggestions of First Level Employee in Electrical and Electronics in Thailand. Populations of this study were First Level Employee in Electrical and Electronics industry in Eastern Region. Samples were 385 Employees in Electrical and Electronics. Data collection were carried out through convenient sampling by using questionnaires. The statistics for data analysis were for instance, percentage, mathematics average, standard deviation, correlation coefficient, and Multiple Regression Analysis. For the Occupational Health of First Level Employee in Electrical and Electronics, overall were rank in the highest level and also highest in all areas. When considering each area, prevention ranks highest, second by protection, third by placing, fourth by promotion and maintenance and least is adaption. For the Occupational Safety, personal safety equipment ranks the highest, organizational policy, teaching training orientation, factory layout Management, chemical storage, transportation transfer goods, safety inspection recording reporting data storage, safety and environment responsibility, budgeting, environment, regulations conformation, data collection, and first aid medical rank respectively. In studying the influencing of Occupational Health towards Occupational Safety of First Level Employee in Electrical and Electronics, it was found that Occupation Health in the areas of adaptation, protection, promotion and maintenance, placing and protection had influenced Occupational Safety of First Level Employee in Electrical and Electronics rank respectively. All variables can explain 63.6% of safety variability in the work place accordingly.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_023.pdf2.73 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น