กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3573
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorศิริพร จำเนียรสวัสดิ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสหเวชศาสตร์
dc.date.accessioned2019-05-23T08:24:23Z
dc.date.available2019-05-23T08:24:23Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3573
dc.description.abstractเป็นที่ทราบกันดีว่าไม่พียงแต่เอสโตรเจนที่สังเคราะห์ขึ้นจากต่อมเพศ แต่รวมถึงเอสโตรเจนที่สังเคราะห์ในสมองส่วนฮิปโปแคมป์สด้วยที่มีบทบาทสําคัญต่อกระบวนการสร้างความจํา อย่างไรก็ตามประสิทธิภาพของของการให้เอสโตรเจนเพื่อรักษาภาวะความจําเสื่อมลดลงเมื่ออายุเพิ่มขึ้น ซึ่งปัจจุบันนี้ยังไม่ทราบถึงบทบาทของเอสโตรเจนที่สังเคราะห์จากฮิปโปแคมปัสในภาวะชรา งานวิจัยครั้งนี้จึงมีสมมุติฐานว่าการที่ประสิทธิภาพของการให้เอสโตรเจนลดลงในภาวะชรานั้นขึ้นกับเอสโตรเจนที่สังเคราะห์จากฮิปโปแคมปัส คณะผู้วิจัยจึงทดสอบสมมุติฐานในหนูแรทเพศเมียอายุ 2 5 10 19 เดือน โดยการวัดปริมาณของเอสโตรเจนในเนื้อเยื่อสมองทั้งส่วน ฮิปโปแคมปัสและซีรีบรัลคอร์เท็กซ์ การแสดงออกของตัวรับเอสโตรเจน และเอนไซมUที่สําคัญต่อการกระบวนการสังเคราะห์สเตียรอย์ ได้แก่ StAR และ P450scc เนื่องจากการทดลองก่อนหน้านี้แสดงให้เห็นว่ระดับของเอสโตรเจนในเลือดไม่สัมพันธ์กับระดับของความสามารถในการจําได้ ในภาวะชรา ในทางตรงกันข้าม ระดับของเอสโตรเจน และตัวรับเอสโตรเจน ลดลงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติในสมองส่วนฮิปโปแคมปัสของหนูแรทเพศเมียอายุ 19 เดือน เมื่อเทียบกับกลุ่มที่อายุน้อยกว่า มากไปกว่านี้การแสดงออกของ เอนไซม์ StAR และ P450scc มีการลดลงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติในกลุ่มที่อายุ 19 เดือน เช่นเดียวกัน จากทั้งหมด นี้สามารถสรุปได้ว่าน่าจะมีปัจจัยบางอย่างเมื่อสมองเขาสู่ภาวะชราและมีบทบาทสําคัญในการยับยั้งกระบวนการสังเคราะห์เอสโตรเจนในสมองส่วนฮิปโปแคมปัสของหนูชรา ซึ่งทําให้เกิดการสูญเสียความสามารถในการจําในที่สุดth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectความจำผิดปกติในวัยชรา -- การรักษาth_TH
dc.subjectเอสโตรเจน -- ผลกระทบทางสรีรวิทยาth_TH
dc.subjectเอสโตรเจน -- การสังเคราะห์th_TH
dc.subjectสเตียรอยด์ฮอร์โมน -- การสังเคราะห์th_TH
dc.subjectสเตียรอยด์ฮอร์โมน -- การใช้รักษาth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleกลไกการสังเคราะห์เอสโตรเจนในสมองชราth_TH
dc.title.alternativeThe mechanism of estrogen biosynthesis in the aged brainen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailsiripornc@buu.ac.thth_TH
dc.year2560th_TH
dc.description.abstractalternativeIt is widely known that not only the gonadal estradiol (E2) but hippocampal E2 plays an essential role in memory process. However, the efficacy of E2 treatment for memory impairment decreases with age. The role of hippocampal E2 during aging is currently unknown. This study hypothesize that the decrease in E2 efficacy during aging is dependent on hippocampal E2 level. We test this hypothesis in 2-, 5-, 10-, and 19-month-old female rats by quantitating the amount of E2 concentration, the expression level of its receptors and key steroidogenic enzymes in hippocampus. Since previous study showed that serum E2 should not be associated with the reduced spatial memory performance. In contract, the level of E2 and the expressions of its receptors were significantly decreased in hippocampus of 19-month old females compared to younger females. Furthermore, the expressions of key hippocampal steroidogenic enzymes, steroidogenic acute regulatory protein (StAR) and cholesterol side-chain cleavage enzyme (P450scc), also significant decreased with age which resulted in the decreased of hippocampal E2 level. Taken together, we summarized that there are aging factors inhibited hippocampal E2 synthesis in aged rats which in turn contributed to the deficit of spatial memory performanceen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_029.pdf2.09 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น