กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/349
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสุเมตต์ ปุจฉาการ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T08:47:28Z
dc.date.available2019-03-25T08:47:28Z
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/349
dc.description.abstractทำการสำรวจและเก็บตัวอย่างฟองน้ำทะเลบริเวณหมู่เกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี ระหว่างวันที่ 28 มกราคม – 5 กุมภาพันธ์ 2553 รวม 7 จุดสำรวจ การสำรวจใช้วิธีดำน้ำแบบผิวน้ำและเครื่องช่วยหายใจใต้น้ำในเวลากลางวัน สุ่มตลอดจุดตรวจ รวบรวมตัวอย่างได้ทั้งหมด 112 ตัวอย่าง และสามารถจำแนกชนิดฟองน้ำทะเล 10 อันดับ 25 วงศ์ 35 สกุล และ 50 ชนิด Order Haplosclerida เป็นกลุ่มฟองน้ำพบมากที่สุด (17 ชนิด) และมีความเด่นในพื้นที่ศึกษามากที่สุด รองลงมาคือ Order Poecilosclerida พบ 9 ชนิด ฟองน้ำทะเลที่พบครั้งแรกในประเทศไทย 2 ชนิดคือ ฟองน้ำเคลือบสีดำ, Corticium niger Pulitzer-Finali, 1996 และฟองน้ำแผ่นสีส้ม, Higginsia massalis Cater, 1885 ฟองน้ำทะเลที่พบเป็นชนิดเด่นและพบแพร่กระจายมากที่สุดคือ ฟองน้ำสีน้ำเงิน, Neopetrosia sp. “blue” รองลงมาคือ ฟองน้ำเคลือบสีเขียว, Haliclona (Gellius) cymaeformis Esper, 1794, ฟองน้ำเคลือบสีฟ้า, Gelliodes petrosioides Dendy, 1905 และฟองน้ำยืดหยุ่นสีดำ, Hyrtios erecta (Keller, 1889) ฟองน้ำที่พบจาการสำรวจส่วนมากเป็นฟองน้ำที่พบได้ทั่วไปในบริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออกและเขตทะเลจีนใต้ Biodiversity of marine sponges was investigated from various habitats in Samui Islands, Suratthani province during from Janurary, 25 to February, 5 2010. Collections were conducted from 7 collection sites. Most of the collections were carried out by hand and skin and SCUBA diving during daytime and the observations were randomly collected throughout all collection sites. One hundred and twelve sponge specimens were collected. The results show 50 species of demosponges from 10 orders, 25 families and 35 genera. Out of these, two species were the new records in Thai waters, namely Corticium niger Pulitzer-Finali, 1996 and Higginsia nassalis Cater, 1885. Order Haploaclerida (17 species) was the most abundance sponge group, follow up by order Poecilosclerida (9). Neopetrosia sp. "blue" , Haliclona (Gellius) cymaeformis esper, 1794, Gelliodes petrosioieds Dendy, 1905 and Hyrtios erecta (Keller, 1889) were the most abundance species of the study area. Moreover, most species were found commonly in the Gulf of Thailand and the South China Sea.th_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ งบประมาณแผ่นดินปี 2553en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectความหลากหลายทางชีวภาพth_TH
dc.subjectฟองน้ำth_TH
dc.subjectอ่าวไทยth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleความหลากหลายทางชนิดของฟองน้ำทะเลที่อาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลอ่าวไทยฝั่งตะวันตกth_TH
dc.title.alternativeSpecies diversity of marine sponges (Demospongiae, Porifera) along the Coast of Western Coasts of the Gulf of Thailandth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2554
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น