กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3493
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจตุรภัทร เมฆพายัพ
dc.contributor.authorกิดาการ สายธนู
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-04-07T08:23:38Z
dc.date.available2019-04-07T08:23:38Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3493
dc.description.abstractปริมาณความเข้มข้นเฉลี่ยรายปีของสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) จะถูกวัดจากสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 ถึงปี พ.ศ. 2558 โดยมีการประยุกต์เทคนิคการวิเคราะห์หลายตัวแปรเพื่อระบุปริมาณลักษณะแหล่งกำเนิดหรือสาเหตุของการเกิด VOCs พร้อมกันกับตรวจสอบการจัดกลุ่มสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศเพื่อกำหนดรูปแบบทางกายภาพของสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศโดยพิจารณาจากการปลดปล่อย VOCs ส่วนประกอบหลักของการวิเคราะห์ปัจจัยแสดงให้เห็นว่ามีแหล่งกำเนิดหรือสาเหตุสำคัญของการเกิด VOCs ที่มีผลต่อคุณภาพอากาศในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด 3 แหล่ง คือ กิจกรรมในครัวเรือน ได้แก่ เต-ตระคลอโรเอทธิลีนและคลอโรฟอร์ม การปล่อยของเสียจากยานพาหนะ ได้แก่ เบนซีน และกระบวนการทางอุตสาหกรรม ได้แก่ ไวนิลคลอไรด์ 1,3-บิวทาไดอีน ไดคลอโรมีเทน และไตรคลอโรเอทธิลีน นอกจากนี้การวิเคราะห์แบ่งกลุ่มยังแสดงให้เห็นอีกว่ามีการแบ่งกลุ่มสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มที่มีปริมาณความเข้มข้นเฉลี่ยของ VOCs ในบรรยากาศโดยรวมค่อนข้างต่ามีจำนวน 5 สถานี ได้แก่ สถานีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมาบตาพุด (S1) สถานีวัดมาบชลูด (S2) สถานีโรงเรียนวัดหนองแฟบ (S3) สถานีเมืองใหม่มาบตาพุด (S4) และสถานีศูนย์บริการสาธารณสุขบ้านตากวน (S6) กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มที่มีปริมาณความเข้มข้นเฉลี่ยของ VOCs ในบรรยากาศโดยรวมปานกลางคือ สถานีหมู่บ้านนพเกตุ (S7) และกลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มที่มีปริมาณความเข้มข้นเฉลี่ยของ VOCs ในบรรยากาศโดยรวมค่อนข้างสูง คือ สถานีชุมชนบ้านพลง (S5)th_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectสารประกอบอินทรีย์th_TH
dc.subjectนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด -- แง่สิ่งแวดล้อมth_TH
dc.subjectสารประกอบอินทรีย์ระเหย -- แง่สิ่งแวดล้อมth_TH
dc.titleการวัดและการระบุลักษณะแหล่งกำเนิดของสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่ายในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดของประเทศไทยโดยการใช้เทคนิคการวิเคราะห์หลายตัวแปรth_TH
dc.title.alternativeMeasurement and Identification Source Characteristic of VOCs in Map Ta Phut Industrial Estate of Thailand Using Multivariate Analysis Techniqueen
dc.typeResearch
dc.author.emailjatupat@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailksaithan@buu.ac.thth_TH
dc.year2560
dc.description.abstractalternativeThe yearly concentrations of volatile organic compounds (VOCs) were measured from 2007 to 2015 at the monitoring stations of Map Ta Phut Industrial Estate. Multivariate analysis technique is applied to identify and quantify the source contribution of VOCs. Clustering of monitoring stations is also investigated to determine physical pattern of monitoring stations considered from the VOCs emission. Principal component of factor analysis indicates 3 significantly major VOCs emission sources impact the air quality in Map Ta Phut Industrial Estate; activity in household contributed to tetrachloroethylene and chloroform, vehicle emissions accounted for benzene and industrial process dominated with vinyl chloride, 1,3-butadiene, dichloromethane and trichloroethylene. In addition, cluster analysis shows there are 3 clusters of monitoring stations. Cluster 1 reveals rather small concentrations of VOCs in 5 monitoring stations; Health Promotion Hospital Map Ta Phut (S1), Map Chalute Temple (S2), Wat Nong Fap School (S3), Muang Mai Map Ta Phut (S4) and Ban Ta Kuan Public Health Center (S6). Nop Pakate Village (S7) is in cluster 2 demonstrated medium concentrations of VOCs while Ban Plong (S5) Community stated the large concentrations of VOCs is located in cluster 3en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2562_040.pdf1.41 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น