กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3455
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสิรภพ สินธุประเสริฐ
dc.contributor.authorพรรณทิพา พรหมรักษ์
dc.contributor.authorเวชฤทธิ์ อังกนะภัทรขจร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:24:04Z
dc.date.available2019-03-25T09:24:04Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3455
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่อง สถิติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังจากได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้กลวิธีเอสคิวอาร์คิวซีคิวร่วมกับคำถามระดับสูง กับเกณฑ์ร้อยละ 70 โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/7 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนสาธิต“พิบูลบำเพ็ญ” มหาวิทยาลัยบูรพา จำนวน 31 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม ใช้เวลาในการวิจัย จำนวน 14 ชั่วโมง โดยดำเนินการสอน 12 ชั่วโมง และเป็นการทดสอบ 2 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ในการทำวิจัยคือ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีเอสคิวอาร์คิวซีคิวร่วมกับคำถามระดับสูง จำนวน 12 แผน แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.89 และแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่อง สถิติ มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.84 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที แบบกลุ่มตัวอย่างเดียว (t-test for one sample) ผลการวิจัยพบว่า 1. ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เรื่อง สถิติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีเอสคิวอาร์คิวซีคิวร่วมกับคำถามระดับสูง สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่อง สถิติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีเอสคิวอาร์คิวซีคิวร่วมกับคำถามระดับสูง สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการแก้ปัญหาth_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectกลวิธีเอสคิวอาร์คิวซีคิวth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีเอสคิวอาร์คิวซีคิวร่วมกับคำถาม ระดับสูงที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณิตศาสตร์เรื่อง สถิติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5th_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume28
dc.year2560
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare the mathematical problem solving ability and mathematical learning achievement of statistics of Grade 11 students after being taught by the instructional SQRQCQ strategy together with high-order questions with 70 percent criterion. The participants of this study were 31 Grade 11 students in the second semester of the 2015 academic year at Piboonbumpen Demonstration School of Burapha University. They were randomly selected by using cluster random sampling. The experiment lasted for 14 hours, 12 hours for teaching and 2 hours for posttest. The instruments used in study were 12 lesson plans, mathematical problem solving ability test with reliability of 0.89, and mathematical learning achievement test with reliability of 0.84. The data were analyzed by arithmetic mean, standard deviation, t-test for one sample. The findings were revealed that: 1. The mathematical problem solving ability of statistics of Grade 11 students after learning by instructional SQRQCQ strategy together with high-order questions was statistically high than 70 percent criterion at the .05 level of significance. 2. The mathematical learning achievement of statistics of Grade 11 students after learning by instructional SQRQCQ strategy together with high-order questions was statistically high than 70 percent criterion at the .05 level of significance.en
dc.journalวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of Education
dc.page210-222.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
edu28n2p210-222.pdf318.91 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น