กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3451
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสถาพร พฤฑฒิกุล
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:24:04Z
dc.date.available2019-03-25T09:24:04Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3451
dc.description.abstractบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นถึงปัญหาการบริหารจัดการศึกษาของไทยปัจจุบัน ที่ไม่สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคมยุค “เศรษฐกิจฐานความรู้”(Knowledge based Economy society) โดยเฉพาะอย่างยิ่งสภาวการณ์แข่งขันทางสังคม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี และการเมืองการปกครอง ตลอดจนโครงสร้างของประชากรในศตวรรษ์ที่ 21 ดังนั้นการบริหารจัดการศึกษาของไทยจึงจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนกระบวนการบริหารจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในสองประเด็น ดังนี้ 1) เน้นใช้การประเมินแบบป้อนไปข้างหน้า (Feedforward) มากกว่าใช้การประเมินแบบป้อนกลับ (Feedback) ทั้งนี้เพราะการศึกษาเป็นการดำเนิน การเพื่ออนาคตมากกว่าการค้นหาข้อผิดพลาดในอดีต และ 2) เน้นการพัฒนาผู้บริหารองค์การทางการศึกษาทุกระดับให้มีภาวะผู้นำแบบทวีปัญญา (Multipliers Leadership) เพื่อ “สร้างคนเก่ง” และใช้ประโยชน์จากคนเก่งอย่างเต็มศักยภาพ ส่งผลให้มีการพัฒนาองค์การอย่างยั่งยืนสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมในปัจจุบันและอนาคตth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth
dc.subjectการบริหารการศึกษาth_TH
dc.subjectการศึกษาth_TH
dc.subjectผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.titleการบริหารการศึกษากับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21th_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume28
dc.year2560
dc.description.abstractalternativeThe main purpose of this article was to reveal the current problems of Thai educational management, which do not respond to the rapid change of the Knowledge based Economy society or the society that utilizes education as a great tool equip human resources with knowledge, skill and professional expertise in order to propel Thai society and economy to conform to globalization and high competition in areas of society, economy, technology, political policy and the population in 21st Century. In this regard, Thai educational administrators must adjust their educational administration process in the following two areas: 1) Use the feedforward process instead of the feedback process to evaluate the educational system, because the educational provision focuses on future development rather than prior mistakes in the past; 2) Equip educational administrators at all levels with multipliers leadership in order to create smart human resources and use them to develop the organization in accordance with the sustainable society at present and in the futureen
dc.journalวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of education, Burapha University
dc.page36-49.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
edu28n2p36-49.pdf249.64 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น