กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3445
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวลัยพร สุขปลั่ง
dc.contributor.authorบรรพต วิรุณราช
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:23:29Z
dc.date.available2019-03-25T09:23:29Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3445
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนขององค์ประกอบเชิงยืนยันของโมเดลสมรรถนะบุคลากรสายผู้สอนสาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนซึ่งได้พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ บุคลากรสายผู้สอนสาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏ จำนวน 150 ท่านโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย และได้รับการตอบกลับ135 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 90 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า โมเดลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2 = 77.99, df = 77,χ2/df = 1.013, GFI = 0.93, CFI = 0.99, RMSEA = 0.01) งานวิจัยนี้ศึกษาสมรรถนะของบุคคลากรสายผู้สอน 3 ด้านคือ สมรรถนะหลัก สมรรถนะทั่วไป และสมรรถนะประจำสายงาน โดยผลการศึกษาพบว่า 1) สมรรถนะหลักที่มีอิทธิพลต่อบุคลากรสายผู้สอนสูงสุดได้แก่ สมรรถนะด้านการมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน (0.52) รองลงมาคือด้านการทำงานเป็นทีม (0.49) และด้านการมุ่งบริการ (0.44) 2)สมรรถนะทั่วไปที่มีอิทธิพลสูงสุด ได้แก่ สมรรถนะด้านการวางแผน (0.69) รองลงมาคือด้านการประเมิน (0.62) และด้านการคิดวิเคราะห์ (0.61) 3) สมรรถนะประจำสายงานที่มีอิทธิพลสูงสุดได้แก่สมรรถนะด้านการบริการวิชาการ (0.67) รองลงมาคือ ด้านวิจัย (0.59) และด้านการสอน (0.51) This research aimed to investigate the consistency of confirmatory factor in the competency model of teachingstaff in the area of Human Resource Management in Rajabhat Universities to support the approach of ASEANCommunity. This research was developed with empirical data. The populations used in this study were 150 teachingstaff in Human Resource Management Area working in Rajabhat Universities. 150 questionnaires were utilized in asthe tool for this research, 135 questionnaires were returned which was calculated as 90%. The data were analyzed bySecond Order Confirmatory Factor Analysis. The result found that Second Order Confirmatory Factor Analysis Modelconformed to the Empirical Data (χ2 = 77.99, df = 77, χ2/df = 1.013, GFI = 0.93, CFI = 0.99, RMSEA = 0.01). Thisresearch analyzed the teaching staff in three aspects; 1) the core competency, 2) the general competency and 3) thefunctional competency. 1) The core competency that was the most influential to the teaching staff was AchievementOrientation (0.52), respectively followed by Team Work (0.49) and Service Orientation (0.44). 2) The generalcompetency that was the most influential was Planning (0.69), respectively followed by Assessment (0.62) and AnalyticalThinking (0.61). 3) The functional competency that was the most influential was Academic Management Competency(0.67) respectively followed by Research Competency (0.59) and Teaching Competency (0.51).th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth
dc.subjectการบริหารงานบุคคลth_TH
dc.subjectการพัฒนาบุคลากรth_TH
dc.subjectการวิเคราะห์ตัวประกอบเชิงยืนยันth_TH
dc.subjectสมรรถนะth_TH
dc.titleการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สองของโมเดลสมรรถนะบุคลากรสายผู้สอนสาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนth_TH
dc.title.alternativeSecond order Confirmatory Factor Analysis of Teaching Staff Competency Model in the Area of Human Resource Management in Rajabhat Universities of Support the Approach of Asean Communityen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume10
dc.year2558
dc.journalวารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์ = Journal of Graduate School of Commerce Burapha Review
dc.page91-103.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
mba10n2p91-104.pdf209.68 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น