กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3437
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสมชาย อรุณธัญญา
dc.contributor.authorสมุทร ชำนาญ
dc.contributor.authorคุณวุฒิ คนฉลาด
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:23:29Z
dc.date.available2019-03-25T09:23:29Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3437
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาประสบการณ์ของชุมชนและโรงเรียนในการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น 2) สังเคราะห์รูปแบบารบริหารเชิงพลวัตโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นของโรงเรียนวัดหนองคัน และ 3) ศึกษาความเป็นไได้ของการนำรูปแบบการบริหารเชิงพลวัตโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นของโรงเรียนวัดหนองคัน ไปประยุกต์ใช้กับโรงเรียนอื่น ๆ ในจังหวัดจันทบุรี โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา เก็บข้อมูลโดยการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) จากผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 24 คน สังเคราะห์เชิงคุณภาพ สัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ (In-depth Interview) จำนวน 19 คน และการทำประชาพิจารณ์ผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา จำนวน 120 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) ประสบการณ์ของชุมชนและโรงเรียนในการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น คือ การอนุรักษ์วัฒนธรรม การฟื้นฟูวัฒนธรรม การเผยเเพร่วัฒนธรรม การต่อยอดวัฒนธรรม และการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น ประกอบด้วย การบริหารงานวิชาการ ได้แก่ การตัดสินใจอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น การมีส่วนร่วมของชุมชน และภูมิปัญญาท้องถิ่น และการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การบริหารงบประมาณ ได้เเก่ การระดมทรัพยากร การจัดสรรงบประมาณและการอนุรักษ์วัฒนธรรมและสร้างรายได้ การบริหารงานส่วนบุคคล ได้เเก่ การให้บุคลากรท้องถิ่นมีส่วนร่วม การตอบสนองความต้องการของชุมชน และการพัฒนาเครือข่ายในการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น เเละการบริหารงานทั่วไป ได้เเก่ การให้บริการชุมชน การสร้างความร่วมมือ และการอนุรักษ์คุณค่าวัฒนธรรม 2) รูปแบบการบริหารเชิงพลวัตโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น ประกอบด้วย ขั้นตอนการดำเนินการตามสถานการที่เป็นไปได้ คือ สถานการณ์ถดถอยเริ่มต้นที่การสร้างการรับรู้ สถานการณ์ไม่เปลี่ยนแปลงเริ่มต้นทีการกำหนดวิสัยทัศน์ และสถานการณ์ดีเริ่มต้นด้วย การพัฒนาหลักสูตร 3) มีความเป็นไปได้ในการนำรูปแบบการบริหารเชิงพลวัตโดยใช้โรงเรียน เป็นฐานในการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นไปประยุกต์ใช้กับโรงเรียนอื่น ๆ ในจังหวัดจันทบุรีth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานth_TH
dc.subjectการอนุรักษ์วัฒนธรรมth_TH
dc.subjectละครชาตรีth_TH
dc.titleการบริหารเชิงพลวัตโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น : กรณีศึกษาละครชาตรีเท่งตุ๊ก โรงเรียนวัดหนองคัน จังหวัดจันทบุรีth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume9
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to 1) Study experiences of community and school in local cultural presevation, 2) Synthesize dynamic administration of School-Based Management in local Cultural preservation of Watnongkan School, 3) Studying of possibility in applying dynamic administration of School-Based Management in local cultural preservation with other schools in Chanthaburi province by qualitative research. Data was analyzed by analyzing content. Data was collected by focus group discussion with total of 24 key informants, qualitative synthesizing and In-deppth interview with total of 19 academics and public hearing with 120 people. The findings were as follow: 1) The experiences of community and school consisted of cultural preservation, revival, distribution, and proceeding. The administrative experiences of School-based Management in locai cultural preservation consisted of academic management; decision to preserve loocal culture, participation of community and local wisdom and development of school curriculum, budget management; resource mobilizing,budget provision and culture preservation and school income building, personnel management; participation of local people, meeting theneeds of community, and network development in local cultural preservation, general management; community services,coiiaboration creating and cultural value preservation, 2) The dynamic administration of School-Based Mananagement in local cultural preservation must be focused on situation emerged: negative change, begin with perceive of preservation problems; stable situation, begin with vision of preservation; positive change, begin with curriculum development. 3) The dynamic administration model of School-Based Management in local cultural preservation with other schools in Chanthaburi province.en
dc.journalวารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of educational administration Burapha University
dc.page91-102.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
eduman9n2p91-102.pdf1.45 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น