กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/337
ชื่อเรื่อง: การประยุกต์ใช้สมุนไพรหรือสูตรยาสมุนไพรท้องถิ่นในภาคตะวันออกในการกระตุ้นภูมิคุ้มกันและการควบคุมแบคทีเรียก่อโรคในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจ.
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Application of herb and herb formula collected from Eastern part of Thailand for immune stimulant and controlling of pathogenic bacteria in economic aquaculture
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: สุบัณฑิต นิ่มรัตน์
วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย
กาญจนา หริ่มเพ็ง
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
คำสำคัญ: กุ้งขาว - - การเพาะเลี้ยง
กุ้งขาว - - โรค
สมุนไพร - - การใช้ประโยชน์
สัตว์น้ำ - - การเพาะเลี้ยง
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
วันที่เผยแพร่: 2552
สำนักพิมพ์: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
บทคัดย่อ: ในการศึกษาครั้งนี้พบว่าในกุ้งขาวมีปริมาณแบคทีเรียกลุ่ม total heteroph ที่วางจำหน่ายตามตลาดต่าง ๆ ภายในจังหวัดชลบุรี (0.34 +- 10 4 CFU/g to 1,505.00 +- 77.78 x 10 4 CFU/g) มีปริมาณสูงกว่ากุ้งขาวที่เก็บมาจากฟาร์มเพาะเลี้ยง (4.07 +- 0.49 CFU/g to 975.00 +- 7.07 x 10 3 CFU/g) ส่วนปริมาณกลุ่ม Vibrio จากกุ้งขาวที่เก็บมาจากฟาร์มเพาะเลี้ยง (0.63 +- 0.32 x 10 3 CFU/g to 224.00 +- 1.41 x 10 3 CFU/g) มีปริมาณสูงกับกุ้งขาวที่วางจำหน่ายตามตลาดต่างๆ ภายในจังหวัดชลบุรี (undetectable levels to 0.03 +- 0.00 x 10 4 CFU/g) และกลุ่ม Pseudomonas ที่เก็บมาจากฟาร์มเพาะเลี้ยง (4.20 +- 0.85 x 10 3 CFU/g to 224.00 +- 1.41 x 10 3 CFU/g) มีปริมาณที่ไม่แตกต่างจาก Pseudomonas จากกุ้งขาวที่วางจำหน่ายตามตลาดต่างๆ ภายในจังหวัดชลบุรี (0.07 +- 0.01 x 10 4 CFU/g to 80.67 +- 3.79 x 10 4 CFU/g) ส่วนชนิดของแบคทีเรียที่พบในกุ้งขาวมีความหลากหลายอย่างมาก ได้แก่ Acinetobacter spp.,Aeromonas spp., Alcaligenes spp., Flavobacterium spp., Klebsiella spp., Moraxella spp., Pasteurella spp., proteus spp., Pseudomonas spp., Serratia spp., Shigella dysenteriae, Staphylococcus spp., Vibrio spp., Yersinia spp., Unidentified bacteria, V. alginolyticus, V. Cholerac, V. fluvalis, V. Furnisii, V. mimicus, V. parahaemolyticus, V. vulnificus, P. aeruginosa, P. alcaligenes, P. cichocii, P. mendocina, P. putid และ P. stutzeri พบแบคทีเรียที่มีความสามารถในการก่อโรคในกุ้งคือ P. fluorescens ในการศึกษาครั้งนี้ได้ทำการศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดพริก กระเทียม ขมิ้นและขิงด้วยสารละลายจำนวน 3 ชนิดคือ น้ำเมทานอลและไดคลอโรมีเทนในการต้านแบคทีเรีย P. fluorescens ที่แยกจากกุ้ ขาวและเป็นแบคทีเรียก่อโรคที่สำคัญในกุ้งขาวและสัตว์น้ำชนิดอื่นๆ เมื่อวิเคราะห์ด้วยการวาง disk พบว่าสารสกัดจากพริก ขมิ้นและขิงด้วยเมทานอลสามารถยับยั้ง P. fluorescens ได้ดีที่สุด In this study, total heterotrophic bacteria were slightly higher in Litopenaeus vannamei distributed in Chon Buri Province (0.34 +- 10 4 CFU/g to 1,505.00 +- 77.78 x 10 4 CFU/g) than from farms (4.07 +- 0.49 CFU/g to 975.00 +- 7.07 x 10 3 CFU/g). The Vibrio level of L. vannamei samples taken from farms (0.63 +- 0.32 x 10 3 CFU/g to 224.00 +- 1.41 x 10 3 CFU/g) were higher than those from the markets in Chon Buri (undetectable levels to 0.03 +- 0.00 x 10 4 CFU/g). The bacterial count on L. vannamei for Pseudomonas reared in the farms (4.20 +- 0.85 x 10 3 CFU/g to 224.00 +- 1.41 x 10 3 CFU/g) and those sale in Chon Buri markets (0.07 +- 0.01 x 10 4 CFU/g to 80.67 +- 3.79 x 10 4 CFU/g) were no significant difference. There were high diversity of bacterai found in L. vannamei such as Acinetobacter spp.,Aeromonas spp., Alcaligenes spp., Flavobacterium spp., Klebsiella spp., Moraxella spp., Pasteurella spp., proteus spp., Pseudomonas spp., Serratia spp., Shigella dysenteriae, Staphylococcus spp., Vibrio spp., Yersinia spp., Unidentified bacteria, V. alginolyticus, V. Cholerac, V. fluvalis, V. Furnisii, V. mimicus, V. parahaemolyticus, V. vulnificus, P. aeruginosa, P. alcaligenes, P. cichocii, P. mendocina, P. putid and P. stutzeri. The potential shrimp pathogen found in this study was P. fluorescens. Chili, garlic, curcuma and ginger were extracted in water, methanol, and dichloromethane, and tested for antimicrobial activities against P. fluorescens isolated from L. vannamei. Using disk assays, the methanolic extract of chili, curcuma and ginger exhibited the growth-inhibited P. fluorescens to regrow on agar, indicating a bacteriostatic mode of action.
URI: http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/337
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น