กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3309
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสมบัติ ธำรงสินถาวร
dc.contributor.authorณัฐิณี แซ่โง้ว
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะการจัดการและการท่องเที่ยว
dc.date.accessioned2019-03-25T09:23:19Z
dc.date.available2019-03-25T09:23:19Z
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3309
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ของผู้บริโภคในการลงทุนของร้านค้าปลีกไปยังชุมชนในการสรา้งความสัมพันธ์ระยะยาวที่แข็งแกร่งระหว่างผู้บริโภคและร้านค้าปลีกในชุมชน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ผู้บริโภคจำนวน 400 ตัวอย่าง โดยการใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ส่วนสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความแปรปรวนทางเดียว สถิติสหสัมพันธ์และการวิเครคาะห์สมการถดถอยแบบหลายตัวแปร ผลการวิจัยพบว่า ตัวแปรอิสระ 3 ตัว คือความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อร้านค้าปลีก การรับรู้ของผู้บริโภคต่อการลงทุนของร้านค้าปลีกไปยังชุมชน การรับรู้ของผู้บริโภคต่อการลงทุนของตัวผู้บริโภคเองมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับตัวแปรตาม คือความแข็งแกร่งของความสัมพันธ์ระหว่างร้านค้าปลีกกับผู้บริโภคอย่างมีนัยสำคัญ ขณะที่ตัวแปรที่เหลืออีก 2 ตัวแปร คือ การรับรู้ของผู้บริโภคต่อการลงทุนของร้านค้าปลีกไปยังผู้บริโภคและคุณภาพของทางเลือกอื่นไม่ได้ส่งผลกระทบตัวตัวแปรตามอย่างมีนัยสำคัญth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการลงทุนth_TH
dc.subjectความพอใจของผู้บริโภคth_TH
dc.subjectธุรกิจขนาดกลางth_TH
dc.subjectธุรกิจขนาดย่อมth_TH
dc.subjectร้านค้าปลีก - - ไทย - - ชลบุรีth_TH
dc.subjectสาขาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleผลของการลงทุนของร้านค้าปลีกขนาดกลางและขนาดย่อมไปยังชุมชนต่อความสัมพันธ์ที่ยั่งยืนระหว่างร้านค้าปลีกและผู้บริโภคในจังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe effect of SMEs retail store's investment in community to be long-term relationship between the retail store and its customers in Chonbuti provinceen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume3
dc.year2557
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is studying the relationship between consumer perception of retailer investment in community which the retailer store is located and the strength of relationship between consumer and retailing store. Samples of this study are 400, which is collected by questionnaire. Statistics for analyzing are percentage, mean, standard deviation, variance, correlation and multiple linear regressions at 0.05 significant levels. For research findings, we find that consumer satisfaction, consumer perception of retailer store's investment to its community and consumer perception of own investment have significant affect to strength of relationship. In addition, consumer perception of retailer store's investment to consumer and quality of alternative retailer stores do not significant affect to strength of relationship.en
dc.journalวารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา = Buraphau journal of business management
dc.page73-82
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
bsn3n2p73-82.pdf162.96 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น