กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3274
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorธร สุนทรายุทธ
dc.contributor.authorปัญญา กันเกตุ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:23:17Z
dc.date.available2019-03-25T09:23:17Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3274
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และเพื่อสร้างสมการพยากรณ์ทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ข้าราชการครูที่ปฏิบัติงานสอนวิชาภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 86 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามประมาณค่า 4 ระดับ จำนวน 62 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบียงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า ระดับผลสัมฤทธิ์ทางการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3โดยรวมพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย อยู่ในระดับพอใช้ ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยแต่ละด้านกับผลสัมฤทธิ์ทางการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 พบว่า มีความสัมพันธ์กับปัจจัยด้านผู้บริหาร ด้านครู ด้านหลักสูตร ด้านทรัพยากรเพื่อการเรียนการสอน ด้านเพื่อน ด้านครอบครัว และด้านการสอนซ่อมเสริม มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่าง .216 ถึง .275 ในทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 การสร้างสมการพยากรณ์ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 พบว่า ปัจจัยด้านเพื่อนเป็นตัวพยากรณ์ที่ดีที่สุด โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์พหุคูณมีค่าเท่ากับ .275 ซึ่งเป็นค่าที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มีอำนาจพยากรณ์ร้อยละ 7.5 และมีสมการสมการพยากรณ์ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในรูปสมการคะแนนดิบดังนี้ Y ̂ = .578+.418(X5)th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth_TH
dc.subjectภาษาไทย - - การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting learning achievement in Thai subjects of Prathomsuksa 3 students under the Office of Rayong Primary Educational Service Area 2en
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume11
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were to find relationship between the factors affecting learning achievement in learning Thai subjects of Prathomsuksa 3 students under the office of Rayong Primary Educational Service area 2 and the equation to construct predictive of learning achievement inThai subjects of Prathomsuksa 3 students. The samples of the study were 86 Thai subject teachers in academic year 2557. The Instrument. Was a rating scale question naïve The statistical devices were mean, standard deviation, Pearson’s Product Moment Correlation coefficient and stepwise multiple regression analysis The finding were as follows: Level of achievement by learning Thai subjects. Of Prathomsuksa 3 students under the office of Rayong Primary educational service area 2. Overall achievement by learning Thai subject was at the fair level. Level of factors affective achievement by learning Thai subjects of Prathomsuksa 3 student under the office of Rayong Primary educational service area 2. On the whole and considering for each aspect were rated at moderate level. Overall positive relationship between considering for each the factors affective achievement of learning Thai subjects of Prathomsuksa 3 student under the office of Rayong Primary educational service area 2 : Management factor, teacher factor, the curriculum, resources for teaching and learning, friend factor, family factor and Remedial Teaching factor. Statigtically significant at the .05 level Best of the equation that the predictors of factors affective achievement of learning. Thai subjects of Prathomsuksa 3 student under the office of Rayong Primary educational service area 2 was friend factor, the resulted estimated the multiple correlation coefficient was .275 with thestatisticalsignificant at the .05 level, can predicted 7.5 percent and The raw scores equation of prediction with the factors affective achievement of learning. Thai subjects of Prathomsuksa 3 student under the office of Rayong Primary educational service area 2 was Y ̂ = .578+.418(X5)en
dc.journalวารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development
dc.page220-230.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
edusoc11n1p220-230.pdf149.74 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น