กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3268
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจันทร์ชลี มาพุทธ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:23:16Z
dc.date.available2019-03-25T09:23:16Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3268
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความฉลาดทางอารมณ์ของนิสิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา และตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นิสิตคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีการศึกษา 2557 จำนวน 338 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามและวัดความฉลาดทางอารมณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าสถิติพื้นฐานและวิเคราะห์โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุโดยใช้โปรแกรม LISREL ผลการวิจัย พบว่า โมเดลความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุความฉลาดทางอารมณ์ของนิสิตคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา ที่ปรับแก้มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พิจารณาได้จากค่าไค-สแควร์ เท่ากับ 7.87, ค่า p เท่ากับ 0.99, ที่องศาความเป็นอิสระ เท่ากับ 4, ค่า GFI เท่ากับ 0.99, AGFI เท่ากับ 0.96 ค่า RMSEA เท่ากับ 0.05 เมื่อพิจารณาค่าน้ำหนักองค์ประกอบตัวแปรสังเกตได้ พบว่า ตัวแปรผู้ปกครอง ตัวแปรนิสิตและตัวแปรเพื่อนมีอิทธิพลทางตรงต่อความฉลาดทางอารมณ์ของนิสิตคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 โดยสามารถร่วมกันทำนายความฉลาดทางอารมณ์ของนิสิตของนิสิตคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ได้ร้อยละ 79 และค่าน้ำหนักองค์ประกอบตัวแปรแฝงความฉลาดทางอารมณ์ที่มีอิทธิพลมากที่สุด ได้แก่ ด้านดี รองลงมา ด้านเก่ง และด้านสุข ตามลำดับth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectความฉลาดทางอารมณ์th_TH
dc.subjectนักศึกษาth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา คณะศึกษาศาสตร์ - - นักศึกษาth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleการพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุความฉลาดทางอารมณ์ของนิสิตคณะศึกษาศาสตร์th_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume11
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were to develop and variable the casual relationship model of to the students’ emotional intelligence in faculty of Education Burapha University. The sample of the study consisted of 338 students in the first semester of academic year 2014 devined by the stratified random sampling technique. A questionnaire and emotionalintelligence test used for collecting the data. Descriptive statistics were employed for the data analysis throughthe SPSS program and LISREL for testing the congruency of the casual relationship model. It found that the adjusted model was consistent with with empirical data. Variables with a statistically significant direct effect on emotional intelligence were factor of family has positive total effect to students’ emotion intelligence in faculty of Education Burapha University was significantly related to the students’ emotional intelligence at the statistical level of .01. And factor of friend has positive total effect to students’ emotional intelligence in faculty of Education BuraphaUniversitywassignificant related to the students’ emotional intelligence at the statisticallevel of .01. A causal model of students’ emotional intelligence in faculty of Education Burapha University as a mediated was fitted with empirical data indicating by Chi-square = 7.87, p = 0.99, degree of freedom = 4, GFI = 0.99, AGFI = 0.96, RMSEA 0.05. The variables in model accounted for 79 percent of the variance in students’ emotion intelligence. The variance of variables in the emotional intelligence the students’ in faculty of Education Burapha University composed of goodness, happiness and intelligence respectively.en
dc.journalวารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development
dc.page123-135.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
edusoc11n1p123-135.pdf157.64 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น