กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3267
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorเชษฐ์ ศิริสวัสดิ์
dc.contributor.authorศศิวิมล เสถียรเขต
dc.contributor.authorสพณภัทร์ ศรีแสนยงค์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:23:16Z
dc.date.available2019-03-25T09:23:16Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3267
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างและหาประสิทธิภาพชุดกิจกรรมการเรียนรู้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้และศึกษาเจตคติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนวิทยาศาสตร์ โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบ 4 MAT สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ประชากรเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรีเขต 1 จังหวัดชลบุรี จำนวน 118 ห้องเรียน จำนวน 2923 คน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนอนุบาลชลบุรี จำนวน 36 คน โดยได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi – Stage Sampling) ใช้เวลาในการทดลอง 18 คาบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1. ได้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบ 4 MAT ซึ่งประกอบด้วย 3 ชุด กิจกรรมโดยชุดกิจกรรมการเรียนรู้แต่ละชุดกิจกรรมที่มีประสิทธิภาพเรียงลำดับดังนี้ 97.22, 94.44 และ 97.22 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบ 4 MAT มีประสิทธิภาพ 96.29/97.22 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2. นักเรียนที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบ 4 MAT มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 3. นักเรียนที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบ 4 MAT มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 4. นักเรียนที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบ 4 MAT มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์หลังเรียน เห็นด้วยอย่างยิ่งในทุกด้านของเจตคติทางวิทยาศาสตร์th_TH
dc.language.isoength_TH
dc.subjectการสอนแบบ 4 แมทth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ - - การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ - - การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ - - กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องแรง และการเคลื่อนที่ โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบ 4 MAT สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3th_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume11
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to construct and to find efficiency of learning package for Learning Area of Science on the unit “Force and Motion” for Prathomsuksa III Students by using 4 MAT learning model, and to study the science learning achievement of students through the science learning package. The population were about 2923 of 118 class Prathomsuksa III students in Chonburi Primary Education Service Area Office 1 and the sample was composed of 36 Prathomsuksa III students from Anubanchonburi school during the second semester of year 2557 by Muti – Stage Sampling step 1 Purposive Sample step 2 Cluster Sampling. The amount of time spent in the experiment was 18 periods. The research instruments were a science learning achievement test. The statistical devices used in the research were mean, percentage and t – test analysis through computer programs. The research revealed that: 1. The constructed of Learning Area of Science package on the unit “Force and Motion” for Prathomsuksa III students using 4 MAT learning model, which were contain 3 package. There were value of efficiency of those learning package were at 97.22, 94.44 and 97.22; the learning packages in the learning package for Learning Area of Science on the unit “Force and Motion” for Prathomsuksa III students using 4 MAT learning model had the value of efficiency of 96.29/97.22, which was higher than the standard 80/80; 2. student’s achievement on Learning Area of Science on the unit “Force and Motion” for Prathomsuksa III students using 4 MAT learning model learning packages post – test is significantly higher than the pre – test at .05 the level. 3. student’s achievement on Learning Area of Science on the unit “Force and Motion” for Prathomsuksa III students using 4 MAT learning model science process skill post – test is significantly higher than the pre – test at .05 the level. 4. student’s achievement on Learning Area of Science on the unit “Force and Motion” for Prathomsuksa III students using 4 MAT learning model scientific attitudes post – test is strongly agree on scientific attitudes is sides.en
dc.journalวารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development.
dc.page112-122
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
edusoc11n1p112-122.pdf140.68 kBAdobe PDFดู/เปิด
edusoc11n1p112-122.pdf140.68 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น