กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3209
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorธร สุนทรายุทธ
dc.contributor.authorเบญจา ศิริผล
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:21:24Z
dc.date.available2019-03-25T09:21:24Z
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3209
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบการบริหารงบประมาณและสินทรัพย์ในสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สู่ความเป็นเลิศ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยใช้เทคนิคการวิจัยอนาคต (EDFR) ในการพัฒนารูปแบบและเทคนิคการศึกษาพหุลักษณะเพื่อหาฉันทามติ (MACR) ในการหาความเหมาะสมของรูปแบบ ผลการวิจัยพบว่าการศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับการบริหารงบประมาณและสินทรัพย์ของสถานศึกษา ระดับมัธยมศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ พบว่า ประเทศไทยใช้ระบบการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ กระบวนการงบประมาณที่นำมาเป็นแนวทางในการพัฒนารูปแบบการบริหารงบประมาณและสินทรัพย์สำหรับสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาในครั้งนี้ใช้ กระบวนการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ ซึ่งมีขั้นตอนที่สำคัญ 4 ขั้นตอน คือ 1) การวางแผนและจัดทำงบประมาณ พบแนวทางในการปฏิบัติ 23 ข้อ 2) การอนุมัติงบประมาณ พบแนวทางในการปฏิบัติ 7 ข้อ 3) การบริหารงบประมาณ พบแนวทางในการปฏิบัติ 43 ข้อ และ 4) การติดตามประเมินผล พบแนวทางในการปฏิบัติ 14 ข้อ รูปแบบที่ได้มีคุณสมบัติของความเป็นองค์กรที่เป็นเลิศ แนวทางที่สำคัญคือ จะต้องมีการบริหารรายได้ คิดคำนวณต้นทุนทุกขั้นตอน สร้างความหลากหลายในการเข้าถึงสินค้าหรือบริหาร เพื่อลดการผูกขาด แยกภารกิจ ประจำกับภารกิจตามนโยบายหลักของต้นสังกัดให้ชัดเจนและสร้างความเชื่อมโยงระหว่างกัน ลดการระดมทุน ลดการใช้ดุลยพินิจ บริหารด้วยความชัดเจน โปร่งใส ตรวจสอบได้และมีเหตุผล มีแผนงานบำรุงรักษาสินทรัพย์ให้ พร้อมใช้งานอยู่เสมอ มีการตรวจสอบภายใน ในเชิงรุกและเชิงสร้างสรรค์ รายงานผลการดำเนินงานด้วยรูปแบบที่ง่าย ต่อการเข้าใจ นอกจากนี้จะต้องปฏิบัติและยึดตามกฎระเบียบที่ราชการกำหนดอย่างเคร่งครัด แนวทางในการบริหาร งบประมาณของสถานศึกษาในรูปแบบการบริหารงบประมาณและสินทรัพย์ของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สู่ความเป็นเลิศ ทั้ง 86 ประการได้รับการยืนยันความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติจากผู้บริหารโรงเรียนและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน จากโรงเรียนที่ประสบความสำเร็จด้านการบริหารจัดการโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectงบประมาณ - - การบริหารth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.subjectโรงเรียน - - งบประมาณ - - การบริหารth_TH
dc.titleรูปแบบการบริหารงบประมาณและสินทรัพย์ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาสู่ความเป็นเลิศth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume10
dc.year2557
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to develop and suitability check budgeting and asset management model to secondary school level toward excellence. This research is qualitative research by EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research) method .The way to develop model and find multi attribute consensus reaching (MACR) for suitability model. The results of this research revealed as follows: 1) The study of principle, concept and theory in budgeting and asset management model to secondary school level, Ministry of Education founded that Thailand use strategic performance based budgeting system (SPBBS). The usage of budgeting procedure way for develop budgeting and asset management model to secondary school level is strategic performance based budgeting system. It has 4 important processes as follows: 1) Plan and Budget Administration has 23 ways. 2) Budgeting approval has 7 ways 3) Budget Administration has 43 ways 4) Follow up and Evaluation has 14 ways .The model of excellence organization must have revenue management, cost management , diversity way to access in goods or administration for reduce monopoly, separation clearly between routine work and major policy work ,built up connectivity each other, reduce funding, reduce discretion, clear, transparency, accountability , asset maintenance , proactive and creative internal auditing , operation report in easy comprehension and obey the rule strictly. 2. The guideline of school budget administration in budget and asset administration to secondary school level toward excellence all 86 items. It get feasibility confirmation from school administrator, operation officer from succeed secondary school in administration management.en
dc.journalวารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development
dc.page223-234.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
edusoc10n1p223-234.pdf670.35 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น