กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3080
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorกันดิส มั่นปาน
dc.contributor.authorวรากร ทรัพย์วิระปกรณ์
dc.contributor.authorประชา อินัง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:21:15Z
dc.date.available2019-03-25T09:21:15Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3080
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการให้อภัยของนิสิตปริญญาตรีโดยเปรียบเทียบผลการศึกษาระหว่างระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็นนิสิตปริญญาตรีประจำปีการศึกษา 2556 จำนวน 16 ราย ที่มีคะแนนการให้อภัยต่ำกว่าเปอร์เซนต์ไทล์ที่ 25 สุ่มเข้ากลุ่มการทดลองและกลุ่มควบคุม โดยวิธีจับคู่ตามคะแนนเพื่อไม่ให้มีข้อแตกต่างกัน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 8 คน และกลุ่มควบคุม 8 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ มาตรวัดพื้นนิสัยในการให้อภัย และโปรแกรมในการศึกษากลุ่มตามแนวคิดจิตตปัญญาในกลุ่มทดลองจะได้รับการปรึกษา สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ครั้งละ 90 นาที จำนวน 11 ครั้ง ส่วนกลุ่มควบคุมจะไม่ได้รับการปรึกษากลุ่มตามแนวจิตตปัญญา ระยะการเก็บข้อมูลแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล จากนั้นนำข้อมูลมาวิเคราะห์ ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำประเภท หนึ่งตัวแปรระหว่างกลุ่มและหนึ่งตัวแปรภายในกลุ่ม เมื่อพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จึงทดสอบความแตกต่างรายคู่โดยวิธีของ บอนเฟอรินี่ ผลการวิจัยพบว่า นิสิตปริญญาตรีที่ได้รับการปรึกษากลุ่มตามแนวคิดจิตตปัญญา มีค่าเฉลี่ยการให้อภัยสูงกว่าจากนิสิตปริญญาตรีที่ไม่ได้รับการปรึกษากลุ่มตามแนวคิดจิตตปัญญาในระยะหลังทดลอง ระยะติดตามผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนิสิตปริญญาตรีที่ได้รับการปรึกษากลุ่มตามแนวคิดจิตตปัญญา มีค่าเฉลี่ยการให้อภัยในระยะหลังทดลอง และระยะติดตามผลสูงกว่าระยะก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มth_TH
dc.subjectการให้อภัยth_TH
dc.subjectจิตตปัญญาศึกษาth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleผลการปรึกษากลุ่มตามแนวคิดจิตตปัญญาต่อการให้อภัยของนิสิตปริญญาตรีth_TH
dc.title.alternativeThe effects of contemplative group counseling on forgiveness of undergraduate studentsen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume10
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were; to study the forgiveness of undergraduate students as the results from a consultation phases, pre-trial, post-trial and follow up. The sample used in this research were 16 undergraduate students who were studying in academic year 2556. Who had forgiveness score less than 25th percentile. They were selected and assigned into experimental and the control groups by match pair technique. The research tools were forgiveness scale and counseling program based on contemplative. The experimental group received 90 minutes counseling twice a week (11 times in total) while the controlled group did not. The data collection was divided into three phrases; pre-trial, post-trial and follow up. The data were analyzed with repeated measures of variance; one variable between groups and one variable within group. When the difference was detected, it was tested with Bonferroni procedures. The research results shown that the forgiveness of undergraduate students who received counseling based on contemplative was higher than the control group in post-trial and follow up phase at .05 significance level. Moreover, the forgiveness of undergraduate students who received the counseling in post-trial and follow up phase was higher than the pre-trial period at .05 significant level.en
dc.journalวารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development
dc.page62-73.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
edusocial10n2p62_73.pdf168.17 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น