กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/306
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorศรีรัตน์ ล้อมพงศ์
dc.contributor.authorถิรพงษ์ ถิรมนัส
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:47:25Z
dc.date.available2019-03-25T08:47:25Z
dc.date.issued2548
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/306
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบเชิงวิเคราะห์ภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับสัมผัสสาร MTBE ของตำรวจจราจรที่ปฏิบัติหน้าที่ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นตัวอย่างประชากรจำนวน 91 นายจากสถานนี้ตำรวจนครบาล จำนวน 2 แห่ง ตัวอย่างตำรวจจราจรทั้งหมดเป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 41.9 ปี ทำงานเป็นตำรวจจราจรมานานกว่า 10 ปี (ร้อยละ57.1) ทำงานเฉลี่ย 8 ชั่วโมงต่อวันและ 6 วันต่อสัปดาห์ มีการใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจ ร้อยละ 96.1 โดยใช้ผ้าปิดจมูกและปาก และใช้ทุกครั้งเพียงร้อยละ 20.9 การเก็บตัวอย่างอากาศใช้ organic vapor motitor (3 m 3500) ติดตัวบุคคลในระดับการหายใจของตัวอย่างตำรวจจราจรทุกนายและมีการเก็บตัวอย่างเลือดหลังสิ้นสุดการทำงาน พบว่า ปริมาณความเข็มข้นของสาร MTBE ในบรรยากาศ มีค่าอยู่ระหว่าง 21.1- 229.2 ppb และมีค่าเฉลี่ย 33.8 ppb (ค่าเบี่ยงเบนมาตราฐาน = 30.63) และค่าระดับสาร MTBE ในเลือดมีค่าอยู่ระหว่าง0.016-0.134 มิลลิกรัมต่อลิตร และมีค่าเฉลี่ย 0.019 มิลลิกรัมต่อลิตร (ค่าเบี่ยงเบนมาตราฐาน = 0.013) นอกจากนี้พบว่า ไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณความเข็มข้นของสาร MTBE ในบรรยากาศแบบติดตัวบุคคลกับระดับสาร MTBE ในเลือด เนื่องจากสาร MTBE มีช่วงอายุสั้นและจะลดลงอย่างรวดเร็วหลังจากการสัมผัส อย่างไรก็ตามจากผลการศึกษษนี้ทำให้ตระหนักได้ว่า ตำรวจจราจรมีการสัมผัสสาร MTBE ที่ถูกเติมลงไปในน้ำมันเชื้อเพลิงและควรจะมีการให้ความรู้ถึงอันตรายของสาร MTBE ที่ถูกเติมลงไปในน้ำมันเชื้อเพลิงและควรจะมีการให้ความรู้ถึงอันตรายของสาร MTBE รวมทั้งควรมีอุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจที่ถูกต้องเหมาะสม organic vapor motitor (3 m 3500) ติดตัวบุคคลในระดับการหายใจของตัวอย่างตำรวจจราจรทุกนายและมีการเก็บตัวอย่างเลือดหลังสิ้นสุดการทำงาน พบว่า ปริมาณความเข็มข้นของสาร MTBE ในบรรยากาศ มีค่าอยู่ระหว่าง 21.1- 229.2 ppb และมีค่าเฉลี่ย 33.8 ppb (ค่าเบี่ยงเบนมาตราฐาน = 30.63) และค่าระดับสาร MTBE ในเลือดมีค่าอยู่ระหว่าง 0.016-0.134 มิลลิกรัมต่อลิตร และมีค่าเฉลี่ย 0.019 มิลลิกรัมต่อลิตร (ค่าเบี่ยงเบนมาตราฐาน = 0.013) นอกจากนี้พบว่า ไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณความเข็มข้นของสาร MTBE ในบรรยากาศแบบติดตัวบุคคลกับระดับสาร MTBE ในเลือด เนื่องจากสาร MTBE มีช่วง อายุสั้นและจะลดลงอย่างรวดเร็วหลังจากการสัมผัส อย่างไรก็ตามจากผลการศึกษานี้ทำให้ตระหนักได้ว่า ตำรวจจราจรมีการสัมผัสสาร MTBE ที่ถูกเติมลงไปในน้ำมันเชื้อเพลิงและควรจะมีการให้ความรู้ถึงอันตรายของสาร MTBE ที่ถูกเติมลงไปในน้ำมันเชื้อเพลิงและควรจะมีการให้ความรู้ถึงอันตรายของสาร MTBE รวมทั้งควรมีอุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจที่ถูกต้องเหมาะสมth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectตำรวจจราจร - - กรุงเทพฯ - - วิจัยth_TH
dc.subjectตำรวจจราจร - - สุขภาพและอนามัย - - วิจัยth_TH
dc.subjectสารระเหยอินทรีย์ - - วิจัยth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleการประเมินการรับสัมผัสสาร MTBE ที่มีผลต่อสุขภาพของตำรวจจราจรที่ปฏิบัติหน้าที่ในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeAssessment of methyl tertiary butyl ether (MTBE) exposure among traffic policemen in Bangkok metropolitan areaen
dc.typeResearch
dc.year2548
dc.description.abstractalternativeThis study was a cross - setional study. The aim of this study was to assess the level of exposure to Methyl tertiary butyl ether (MTBE) among traffic policemen in Bangkok metropolitan area. The subjects of this study consisited of 91 traffic policemen (male) from 2 police stations. THe average of ages was 41.9 years andworked as traffic policemen more than 10 years (57.1%). The average of working hours was 8 h a day and 6 d a week. The subjects (96.1%) used cotton mask as personal protective equipment and used it every time only 20.9% The MTBE inairborne was measured throughout the work with organic vapor monitors (3M 3500) attached on the breathing zone of each subject and the blood samples were taken after the work. The concentration of MTBE level in airborne ranged 21.1-229.2 ppb and the mean was 33.8 ppb (SD=30.63). The concentration of blood MTBE level ranged 0.016-0.134 mg/L and the mean was 0.019 mg/L (SD=0.013). No relationship between the concentration of MTBE level in airborne and in blood. The blood levels of MTBE decreased quite rapidly after the exposure has ceased; the half- life of MTBE in blood is short. From these results, we can emphasize that traffic policemen are exposeed to MTBE which used as an additive in gasoline fuel. They should get occupational health education and use personal protective equipment suitable for protection against it.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น