กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2935
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorพงศ์เทพ จิระโร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:20:07Z
dc.date.available2019-03-25T09:20:07Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2935
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์การจัดการศึกษา และเพื่อศึกษาทิศทางการจัดการศึกษาหลักสูตรทางการศึกษา สาขาวิจัยการศึกษา วัดและประเมินผลการศึกษา และสถิติการศึกษา ในระดับบัณฑิตศึกษาของประเทศไทย ผลการวิจัย พบว่า ชื่อหลักสูตรที่มีผู้เรียนมากที่สุด คือหลักสูตรการวิจัยและประเมินผลการศึกษารองลงมาเป็นหลักสูตรการวัดและประเมินผลการศึกษา หลักสูตร การวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา และชื่อหลักสูตรวิธีวิทยาการวิจัยการศึกษา ตามลำดับ และผลการสำรวจสภาพการจัดการศึกษาสาขา วิจัย วัดและประเมินและสถิติการศึกษา พบว่าหลักสูตรมีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดย มีความเหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 3 รายการ คือ ผู้ที่จบหลักสูตรสามารถนำความรู้ด้านการวิจัย วัดและประเมินผลไปประยุกต์ใช้ในการทำงาน มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาเป็นความคิดเห็นเกี่ยวกับความพร้อมของคณาจารย์ และความรู้สึกว่าชอบหลักสูตรที่กำลังศึกษาหรือสอน ส่วนความคิดเห็นเกี่ยวกับผู้ที่จบหลักสูตร มีความสามารถด้านภาษาไปประยุกต์ใช้ในระดับอาเซียน มีคะแนนเฉลี่ยต่ำสุด สำหรับข้อเสนอแนะทิศทางการปรับปรุงหลักสูตร ควรมีบูรณาการหลักสูตรให้เข้ากับหลักสูตรของประเทศอื่นๆ ในอาเซียน ควรปรับหลักสูตรเน้นการใช้ภาษาอังกฤษ ควรมีเกณฑ์มาตรฐานการประเมินในระดับอาเซียน และควรปรับการเรียนการสอนบางส่วนเป็นภาษาอังกฤษth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการบริหารการศึกษาth_TH
dc.subjectการศึกษา - - วิจัยth_TH
dc.subjectการศึกษาth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleการวิเคราะห์การจัดการศึกษาของประเทศไทยในระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรสาขาวิจัยการศึกษา วัดและประเมินผลการศึกษา และสถิติการศึกษาth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume26
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to analyze educational management and to study the directions of graduate curricula in the educational research, measurement and evaluation, And statistics programs in Thailand. The results showed that the number of students studied was diverse, ranging from most to least respectively, was the educational research and evaluation curriculum, educational measurement and evaluation, educational research measurement and statistics, and educational research methodology. Gernerallt, the suitability of current curricula in the educational research, measurement and evaluation, and statistics programs were at a good level. Three aspects of the curricula were found suitable at a very good level. First, the graduates could use knowledge gained from the field at their work. Second, the participants reported that they had well-prepared professors. Last, the participants liked the curricula that they currently studied. Additionally, the participants reported with the minimum average that the graduates possessed a language ability to use in the ASEAN level. As for the directions of the curricula, the participants suggested to integrate the curricula with other ASEAN countries, emphasize the use of English language, assess the curricula standards in ASEAN level, and revise some parts of the English instruction.en
dc.journalวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of education, Burapha University
dc.page148-158.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
edu26n2p145-158.pdf119.13 kBAdobe PDFดู/เปิด
edu26n2p145-158.pdf119.13 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น