กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2784
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจิตติมา เจริญพานิช
dc.contributor.authorธงชัย ศรีวิริยรัตน์
dc.contributor.authorศิริประภา แจ้งกรณ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:18:52Z
dc.date.available2019-03-25T09:18:52Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2784
dc.description.abstractอะคริลาไมด์ถูกนามาใช้ในกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมต่างๆ ทาให้มีการปนเปื้อนอะคริลาไมด์ในน้าเสียและ ต้องถูกบาบัดก่อนปล่อยออกสู่แหล่งรองรับ น้ำทิ้งเพราะอะคริลาไมด์และสารอนุพันธ์ของอะคริลาไมด์เป็ นพิษและเป็นสารก่อ มะเร็ง ดังนั้ นงานวิจัยนี้จึงประเมินการสลายอะคริลาไมด์ด้วยแบคทีเรียผสมในระบบบำบัดน้าเสีย Sequencing Batch Reactor (SBR) จานวน 2 ระบบ ระบบหนึ่งเป็นระบบควบคุมที่มีการป้อนน้ำเสียสังเคราะห์ที่ไม่มีอะคริลาไมด์ อีกระบบหนึ่ง ป้ อนอะคริลาไมด์ร้ อยละ 25 ของความเข้มข้นสารอินทรีย์ทั้ งหมดบ่งชี้ ด้วยความต้องการใช้ออกซิเจนทางเคมี (Chemical Oxygen Demand, COD) (~100 mg acrylamide/L) ทั้ งนี้น้ำเสียมีค่า COD ทั้ งหมดเท่ากับ 400 mg COD/L ผลการทดลอง พบว่า แบคทีเรียผสมสามารถกาจัดอะคริลาไมด์ได้ทั้ งหมดภายในระยะเวลา 10 ชั่ วโมง มีประสิทธิภาพการกำจัด COD เพียง ร้อยละ 76.4 จากการสะสมของกรดอะคริลิค โดยมีแอมโมเนียมและกรดอะคริลิคจากการสลายอะคริลาไมด์สะสมเท่ากับ 68 และ 108 mg/L ตามลาดับ นอกจากนั้ นยังพบการสะสมของไนไตรท์และไนเตรทจากปฏิกิริยาไนตริฟิ เคชั่ นเท่ากับ 6.8 และ 19.1 mg N/L ตามลา ดับ สรุปได้ว่า ระบบบำบัดน้าเสียแอคติเวเต็ทสลัดจ์สามารถกาจัดอะคริลาไมด์ที่มีความเข้มข้นประมาณ 100 mg/L ได้อย่างมีประสิทธิภาพเพราะจุลินทรีย์สามารถใช้อะคริลาไมด์เป็นแหล่งคาร์บอนได้th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectระบบเอสบีอาร์th_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.subjectอะคริลาไมด์th_TH
dc.subjectแบคทีเรียผสมth_TH
dc.subjectแอคติเวเต็ทสลัดจ์th_TH
dc.titleการสลายอะคริลาไมด์ด้วยแบคทีเรียผสมในระบบบำบัดน้ำเสียเอสบีอาร์th_TH
dc.title.alternativeAcrylamide Degradation with Mixed Culture Bacteria in Sequencing Batch Reactor (SBR) Wastewater Treatment Processen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume20
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeAcrylamide is widely used in various industrial processes resulting in the discharge of acrylamide in the wastewater. Due to its carcinogenicity and toxicity, the acrylamide including its derivatives must be removed from the wastewater prior to discharge to the receiving water. Therefore, this research aims to evaluate the acrylamide degradation from the synthetic wastewater by mixed culture bacteria in two Sequencing Batch Reactor (SBR) systems. One SBR system was operated as a control system feeding the synthetic municipal wastewater without any acrylamide. The synthetic wastewater contained total Chemical Oxygen Demand (COD) about 400 mg COD/L. Another SBR system was exposed to high concentration of acrylamide at 25% of total COD equivalent in synthetic municipal wastewater (~100 mg acrylamide/L). It is found that the mixed culture bacteria in the SBR system removed the acrylamide completely at the concentration of 25% total COD equivalent in 10 hours of reacting period, but the COD removal efficiency was only 76.4% because of the accumulation of acrylic acid. Both ammonium nitrogen (68 mg N/L) and acrylic acid (108 mg/L) were accumulated in the SBR system as a result of the degradation process by mixed culture bacteria. Nitrification was accomplished in the SBR systems resulting in the accumulations of nitrite and nitrate nitrogens at the concentrations of 6.8 mg N/L and 19.1 mg N/L, respectively. It is concluded that the activated sludge system can remove acrylamide efficiently at the acrylamide concentration of about 100 mg/L because microorganisms use acrylamide as a carbon source for growth.en
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal
dc.page25-34.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
sci20n1p25-34.pdf372.31 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น