กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2781
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorคุณัตว์ พิธพรชชัยกุล
dc.contributor.authorนฤพนธ์ วงศ์จตุรภัทร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา
dc.date.accessioned2019-03-25T09:18:52Z
dc.date.available2019-03-25T09:18:52Z
dc.date.issued2549
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2781
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของโมเดลแรงจูงใจในการเข้าร่วมกิจกรรมกีฬาและศึกษาอิทธิพลของลักษณะเป้าหมายใฝ่สัมฤทธฺ์ที่มีต่อแรงจูงใจในการเข้าร่วมกิจกรรมกีฬาและศึกษาอิธิพลของลักาณะเป้าหมายใฝ่สัมฤทธฺ์ที่มีต่อแรงจูงใจในการเข้าร่วมกิจกรรมกีฬา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักกีฬาที่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬามหวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 31 ณ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 594 คน เป็นนักกีฬาชาย 349 คน หญิง 245 คน มีอายุเฉลี่ย 20.67ช1.63 ปี (อายุระหว่าง 18-25 ปี) ให้นักกีใาตอบแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความสำเร็จในการเล่นกีฬา จำนวน 13 ข้อและแบบสอบถามแรงจูงใจในการเข้าร่วมกิจกรรมกีฬา จำนวน 30 ข้อ ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันพบว่า โมเดลแรงจูงใจในการเข้าร่วมกิจกรรมกีฬามีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (RMSEA = .043, SRMR = .046, NFI = 97, CFI = .98) แสดงว่า แบบสอบถามแรงจูงใจในการเข้าร่วมกิจกรรมกีฬามีความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างสามารถใช้วัดแรงจูงใจในการเข้าร่วมกิจกรรมกีฬาได้เป็นอย่างดีจากการสำรวจพบว่า มีจำนวนนักกีฬาที่มีลักษณะเป้าหมายใฝ่สัมฤทธิ์ที่มุ่งในการกระทำระดับสูง และมุ่งเปรียบเทียบผู้อื่นในระดับตำ่ (Task สูง Ego ตำ่) มีจำนวนมากที่สุด รองลงมาเป็นนักกีฬาที่มีลักษณะเป้าหมายใฝ่สัมฤทธิ์ที่มุ่งในการกระทำระดับสูง และมุ่งเปรียบเทียบผู้อื่นในระดับสูง (Task สูง Ego สูง) และนักกีฬาที่มีลักษณะเป้าหมายใฝ่สัมฤทธิ์ที่มุ่งในการกระทำระดับตำ่ และมุ่งเปรียบเทียบผู้อื่นในระดับตำ่ (Task ตำ่ Ego ตำ่) สำหรับนักกีฬาที่มีลักษณะเป้าหมายใฝ่สัมฤทธิ์ที่มุ่งในการกระทำระดับตำ่ และมุ่งเปรียบเทียบผู้อื่นในระดับตำ่ (Task ต่ำ Ego สูง) สำรวจไม่พบในการวิจัยครั้งนี้นอกจากนี้ ยังพบว่า นักกีฬากลุ่ม Task สูง Ego สูง และ กลุ่ม Task สูง Ego ต่ำ มีแรงจูงใจในการเข้าร่วมกิจกรรมกีฬา ด้านใฝ่สัมฤทธิ์/ การยอมรับและด้านการทำงานเป็นทีมแตกต่างกับนักกีฬากลุ่ม Task ต่ำ Ego ต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สำหรับนักกีฬากลุ่ม Task สูง Ego สูง และกลุ่ม Task สูง Ego ต่ำ มีแรงจูงใจในการเข้าร่วมกิจกรรมกีฬา ด้านใฝ่สัมฤทธิ์/ การยอมรับและด้านการทำงานเป็นทีมมีความแตกต่างกันอย่างไรไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ผู้ฝึกสอนและผู้ที่เกี่ยวข้องทางการกีฬาควรส่งเสริมให้นักกีฬามีบุคลิกลักษณะที่มุ่งในการกระทำและพยายามกระตุ้นให้นักกีฬามีแรงจูงใจทางด้านใฝ่สัมฤทธิ์/ การยอมรับ และด้านการทำงานเป็นทีมในการฝึกซ้อมกีฬา ซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญในการเข้าร่วมกิจกรรมของนักกีฬาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectกีฬา - - แง่จิตวิทยาth_TH
dc.subjectกีฬาth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์การกีฬาth_TH
dc.subjectแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์th_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleอิทธิพลของลักษณะเป้าหมายใฝ่สัมฤทธิ์ที่มีต่อแรงจูงใจในการเข้าร่วมกิจกรรมกีฬาของนักกีฬาระดับอุดมศึกษาth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume4
dc.year2549
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to investigate the confirmatory factor analysis of Participation Motivation Questionnaire (PMQ) and goal orientation influenced participation motivation. The samples were 594 athletes who participated in the Thailand University Games at Chiang Mai University, Chiang Mai. They were males (n = 349) and females (n = 245), ranging in age from 18 to 25 (M = 20.63, SD =1.63). A Thai version of Task and Ego Orientation Sport Questionnaire: TEOSQ and Participation Motivation Questionnaire: PMQ in Thai version (Pithapornchaikul, 2003), was administerd during the 31st Thailand University Games, 2003. The results revealed that, athletes were high task/ high ego oriented. A confirmatory factor analysis presented that PMQ model fits the empirical data well (RMSEA = .043,SRMR = .046, NFI = .97, CFI = .98). These findings provided empirical support the construct validity of PMQ for intercollegiate athletes. In addition, there were significantly differences at .01 level on participate motivation, achievement/ recognition group and low task/low ego orientation group, except task/low ego orientation group. There were not significant differences on high task/high ego orientation group. The research finding suggested that; coaches and supporter should maximize task with highly achievement motivation as recognition and team were important factors of participating motivation.en
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและกีฬา
dc.page17-27.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
p17-27.pdf1 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น