กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2775
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorนฤพนธ์ วงศ์จตุรภัทร
dc.contributor.authorพรเทพ ราชรุจิทอง
dc.contributor.authorสุรินทร์ นิยมางกูร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา
dc.date.accessioned2019-03-25T09:18:51Z
dc.date.available2019-03-25T09:18:51Z
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2775
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการแทรกกิจกรรมทางกายที่มีต่อแรงจูงใจตามสถานการณ์ ความเชื่อมั่นตนเองเฉพาะด้าน และความรู้สึกที่ดีต่อร่างกายตนเองของนิสิตที่เรียนกิจกรรมพลศึกษา (PEA) โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตที่อาสาสมัครเข้าร่วมวิจัย จำนวน 103 คน จากการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง แยกเป้นกลุ่มควบคุม 47 คน และกลุ่มทดลอง 56 คน ในการศึกษาครั้งนี้ นิสิตกลุ่มทดลองใช้เวลาเรียนวอลเลย์บอล 70 นาที ต่อด้วยกิจกรรมแอโรบิกแดนซ์ (Aerobic Dance) การฝึกด้วยน้ำหนัก (Weight Training) 30 นาที และตามด้วยการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ (Stretching) 20 นาที ส่วนนิสิตกลุ่มควบคุมเรียนวอลเลย์บอลตามปกติ 120 นาที โดยใช้ระยะเวลาทำการศึกษา 12 สัปดาห์ และเก็บข้อมูลจากนิสิตที่เข้าร่วมการวิจัยก่อนและหลังการทดลองด้วยแบบสอบถามแรงจูงใจตามสถานการณ์ (ค่าความเชื่อมั่น .85, .73, .75 และ .72) แบบสอบถามความเชื่อมั่นตนเองเฉพาะด้าน (ค่าความเชื่อมั่น .87) และแบบสอบถามความรู้สึกที่ดีต่อร่างกายตนเอง (ค่าความเชื่อมั่นเพศชายอยู่ที่ .81-.86 เพศหญิงอยู่ที่ .84-.92) จากการวิเคราะห์ข้อมูลชี้ให้เห็นว่าการแทรกกิจกรรมทางกายสามารถเพิ่มแรงจูงใจตามสถานการณ์ ความเชื่อมั่นตนเองเฉพาะด้าน และความรู้สึกที่ดีต่อร่างกายตนเองให้กับผู้เรียนได้สุงขึ้นยกเว้นองค์ประกอบย่อยของความรู้สึกที่ดีต่อร่างกายตนเองด้านสภาวะทางกายเพศหญิงที่ไม่แตกต่างกันth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการจูงใจ (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectการออกกำลังกายth_TH
dc.subjectความเชื่อมั่นในตนเองth_TH
dc.subjectพลศึกษาth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleผลของการแทรกกิจกรรมทางกายที่มีต่อแรงจูงใจตามสถานการณ์ ความเชื่อมั่นตนเองเฉพาะด้าน และความรู้สึกที่ดีต่อร่างกายตนเองth_TH
dc.title.alternativeEffect of physical activities intervention on situational motivation, self-efficacy and body self-esteemen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume8
dc.year2554
dc.description.abstractalternativeThe present research was aimed to examine the effectsof additional physical activity intervention on situational motivation, self efficacy and body self esteem of undergraduate students taking a physical education activity(PEA) class. One hundred and three undergraduate students volunteered to participate and were randomly assigned to a control group (n = 47) and an experiment group (n = 56). The experimental group participants took a 70-minute volleyball class with an additional of either 30 minutes aerobic dance or weight training, followed by 20 minutes stretching exercise. The control group participants took a regular 120-minute volleyball class. Between 12-week study, all participants were asked to respond to a situational motivational scale (r = .85, .73, .75, and .72), self-efficacy (r = .87) and body self-esteem for male (r = .81- .86) and for female (r = .84- .92) prior to and after the experiment. Statistical analysis indicated that additional physical activities can enhance situational motivation, selfefficacy and body self-esteem of students, except a physical condition for female subscale of body selfesteem.en
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและกีฬา
dc.page61-79.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
61-79.pdf448.61 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น