กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2772
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorนฤพนธ์ วงศ์จตุรภัทร
dc.contributor.authorพิชญาวีร์ ภานุรัชต์ฐนนท์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา
dc.date.accessioned2019-03-25T09:18:51Z
dc.date.available2019-03-25T09:18:51Z
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2772
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป้นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบสอบถามความเชื่อมั่นในความสามารถแห่งตน เพื่อศึกษารูปแบบของการฝึกสอนกีฬา การใช้แหล่งที่มาของความเชื่อมั่นในความสามารถแห่งตน และความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบของการฝึกสอนกีฬากับการใช้แหล่งที่มาของความเชื่อมั่นในความสามารถแห่งตนในกีฬาบาสเกตบอล ข้อมูลได้จากการตอบแบบสอบถาม จากผู้ฝึกสอนกีฬาบาสเกตบอลในประเทศไทย จำนวน 205 คน โดยแบ่งเป็นผู้ฝึกสอนชาย จำนวน 142 คน และผู้ฝึกสอนหญิง จำนวน 63 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้ฝึกสอนกีฬาบาสเกตบอลส่วนมากเป็นผู้ฝึกสอนกีฬาแบบฝึกและสอน ซึ่งเน้นการสอนและการปฏิบัติทักษะ มากกว่า รูปแบบของการฝึกสอนแบบประชาธิปไตย และแบบสนับสนุนทางสังคม ส่วนการฝึกสอน แบบชมเชยหรือเน้นการให้รางวัลเป็นรูปแบบการฝึกสอนแบบชมเชยหรือเน้นการให้รางวัลเป้นรูปแบบการฝึกสอนที่มีจำนวนน้อยที่สุด และผู้ฝึกสอนกีฬาบาสเกตบอลในประเทศไทย ไม่มีรูปแบบของการฝึกสอนแบบเผด็จการ 2) วิะีการสรา้งความเชื่อมั่นในตนเองที่ผู้ฝึกสอนนำมาใช้กับนักกีฬาและทำให้นักกีฬามีความเชื่อมั่นในตนเองมากที่สุด คือ การชักจูงด้วยคำพูดส่วนการกระตุ้นทางอารมณ์และการกระตุ้นทางสรีรวิทยา เป็นวิธีที่ผู้ฝึกสอนนำมาใช้กับนักกีฬาน้อยที่สุด 3) รูปแบบของผู้ฝึกสอนกีฬาบาสเกตบอลในแบบฝึกและสอน แบบสนับสนุนทางสังคม และแบบชมเชยหรือเน้นการให้รางวัล ใช้วิธีการชักจูงด้วยคำพูดเป็นอันดับแรก ส่วนวิธีการกระตุ้นทางอารมณ์และวิธีการกระตุ้นทางสรีรวิทยา ผู้ฝึกสอนจะเลือกนำมาใช้เป้นลำดับสุดท้าย 4) ความสัมพันธ์ของรูปแบบการฝึกสอนในการใช้แหล่งความเชื่อมั่นในความสามารถแห่งตน รูปแบบฝึกและสอนมีความสัมพันธ์กับรูปแบบชมเชยหรือเน้นการให้รางวัล และรูปแบบประชาธิปไตย์ มีความสัมพันธ์กับรูปแบบสนับสนุนทางสังคมth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการฝึกสอนth_TH
dc.subjectกีฬา - - แง่จิตวิทยาth_TH
dc.subjectความสามารถทางกีฬาth_TH
dc.subjectความเชื่อมั่นในตนเองth_TH
dc.subjectบาสเกตบอลth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบของการฝึกสอนและการใช้แหล่งความเชื่อมั่นในความสามารถแห่งตนในกีฬาบาสเกตบอลth_TH
dc.title.alternativeRelationship between coaching style and sources of self-efficacy in basketballen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume8
dc.year2554
dc.description.abstractalternativeThis research was an observational research, aimed to develop the self-efficacy questionnaire for studying the coaching styles, as well as the use of sources of self-efficacy, and relationship between the coaching styles and the use of sources of self-efficacy in basketball. Data were collected by means of responding to the questionnaire of 205 Thai basketball coaches (male = 142, female = 63). Results were found that: 1) Most Thai basketball coaches were the training and instruction coachingbehavior that more emphasized teaching and performing skill than the democratic coaching behavior andthe social support behavior. In addition, there were least numbers of the questionnaire completion inthe rewarding or positive-feedback behavior, and there was no completion inthe autocratic coaching behavior,2) procedure of building up self-efficacy that the basketball coaches conducted to athletes and that made athletes mostly have self-confidence is the verbal persuasion as a procedure conducted to use more than other. Furthermore, emotional and physiological arousals were procedures that coaches least conducted to use in athletes,3) styles of basketball coach in the training and instructioncoaching behavior, as well as the social support behavior, and the rewarding or positive-feedback behavior as a style that emphasized giving the rewarding or positive-feedback, firstly used the verbal persuasion. moreover, these coaches lastly used the procedures of emotional and physiological arousals,4) styles of basketball coach had relationship to rank of use of sources of self-efficacy; the training and instruction coaching behavior had relation of use of self-efficacy with the rewarding or positive-feedback behavior emphasizing giving a reward; and the democratic coaching behavior had relation tothe social support behavioren
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและกีฬา
dc.page19-31.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
19-31.pdf275.2 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น