กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2717
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสายชล รื่นรวย
dc.contributor.authorลัดดา ศุขปรีดี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:18:47Z
dc.date.available2019-03-25T09:18:47Z
dc.date.issued2556
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2717
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 และเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนกับหลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนชำนาญสามัคคีวิทยา อำเภอแกลง จังหวัดระยอง จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้คือ ชุดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ แบบทดสอบประจำชุดกิจกรรม และ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ และค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. ชุดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพ E1/ E2 = 81.63/84.49 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์กำหนดไว้ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนหลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานที่กำหนดth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectกิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ - - กิจกรรมการเรียนการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.subjectโครงงานวิทยาศาสตร์th_TH
dc.titleการพัฒนาชุดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2th_TH
dc.title.alternativeThe development of activity package of science project for Mattayomsuksa 2 studenten
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume9
dc.year2556
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to develop the activity package of science project to meet the criterion at 80/80 and to investigate the academic achievement. The sample consisisting of 40 Matthayomsuksa 2 students who studying in the second semester of the academic year 2012 in Chamnan Samkki Wittaya, Klaeng District, Rayong Province. The instruments were learning activity package of science project, the exercise and the evaluation achievement test . The statistics used in analizing the data were standard deviation, means, percentage and t-test. The finding revealed that the learning activity package of Science project of Mattayomsuksa 2 students had the efficiency criterion at 81.63/84.49 which was according to the set criterion. The academic achievement after learning was significantly higher than that of before learning ( p<.50 ) which was approved by the hypothesis as set.en
dc.journalวารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development
dc.page145-153.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
edusoc9n1_13.pdf528.79 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น