กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2694
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorศรัณยา เลิศพุทธรักษ์
dc.contributor.authorนันทนา ผาสุข
dc.contributor.otherวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:18:46Z
dc.date.available2019-03-25T09:18:46Z
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2694
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษานโยบายในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลบางนาง อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี 2) เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการกำจัดขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลบางนา อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี 3)เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการขยะมูลฝอย อย่างมีส่วนร่วมของประชาชนที่เหมาะสมขององค์การบริหารส่วนตำบลบางนา อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับชุมชนในตำบลบางนาง จำนวน 12 คน โดยแบ่งออกเป็นกลุ่มผู้นำชุมชน คือ กำนัน และผู้ใหญ่บ้านจำนวน 9 คน กลุ่มผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบล คือ นายกองค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน 1 คน และกลุ่มพนักงานส่วนตำบล คือ ปลัด และเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน จำนวน 2 คน ใช้วิธีการวิจัยแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก จากการวิจัยพบว่า นโยบายในการจัดการขยะมูลฝอยขององค์การบริหารส่วนตำบลบางนาง ได้มีการจัดซื้อรถขยะ ดำเนินการสรรหาบุคลากรมาทำหน้าที่ในการจัดการขยะมูลฝอยและออกข้อบังคับในการจัดกรขยะมูลฝอย เรื่องการกำจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย แต่ยังไม่มีผลบังคับใช้อย่างเป็นทางการ ซึ่งสภาพและปัญหาการจัดการขยะมูลฝอย ส่วนใหญ่แหล่งกำเนิดขยะมูลฝอยมาจากบ้านเรือน ร้านค้า และร้านอาหาร วิธีการกำจัดขยะในปัจจุบัน มีการคัดแยกขยะไปขายให้กับร้านรับซื้อของเก่า และมีการกำจัดขยะมูลฝอยโดยการเผา หรือฝังกลบ ทำให้เกิดปัญหาปริมาณขยะมูลฝอยเพิ่มมากขึ้น วิธีการกำจัดขยะที่ไม่ถูกหลักสุขาภิบาล ขาดภาชนะรองรับขยะมูลฝอย และประชาชนทิ้งขยะไม่เป็นที่แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยอย่างมีส่วนร่วมของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล บางนาง ควรกำหนดนโยบายเป้าหมาย และวางแผนในการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยในเชิงรุกลงสู่ชุมชนให้มากขึ้น ควรเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยแบบบูรณาการและควรมีการพัฒนาบุคลากร โดยการอบรมเพิ่มพูนความรู้ให้แก่บุคลากร เจ้าหน้าที่ และผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการขยะมูลฝอยth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการกำจัดขยะ - - การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectการกำจัดขยะth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล - - ไทย - - ชลบุรีth_TH
dc.subjectสาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์th_TH
dc.titleแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยอย่างมีส่วนร่วมของชุมชนในองค์การบริหารส่วนตำบลบางนาง อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeMethods in developing garbage management in a participatory by Bangnang tombon administration organization, Panthong district, Chon Buri provinceen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume6
dc.year2554
dc.description.abstractalternativeFrom the research it was found that waste management policy of Bangnang Tambom Administration Organization included buying a garbage truck and garbage cans, allocating human resources to be responsible for waste management and issue waste management rules which are not yet enforced. The conditions and problems of waste management mostly originate from homes, shops and restaurants. Current waste management involves the separation of garbage to be a old, and burning or burying the rest. This leads to an increase in the garbage problem. Methods of waste manage the waste not sanitary, lack garbage can and te community litters. Participatory waste management methods should establish policies, goals and plans to manage the waste. Human resources should be developed and training should be given to the staff, officials and those involved in garbage management.en
dc.journalวารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์ = Journal of Graduate School of Commerce Burapha Review
dc.page55-67.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
55-67.pdf4.41 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น