กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2691
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวรวรรณ จิรไกรศิริ
dc.contributor.authorธนานันต์ มีชูทรัพย์
dc.contributor.authorฐิติรัตน์ ชูไกรพินิจ
dc.contributor.authorเกียรตินิยม คุณติสุข
dc.contributor.authorชำนาญ งามมณีอุดม
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:18:45Z
dc.date.available2019-03-25T09:18:45Z
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2691
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาของผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบการบริหารการเงิน การคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบจัดซื้อ/ จัดจ้าง เพื่อเสนอแนวทางในการปฏิบัติงานที่เหมาะสม โดยศึกษาปัญหา ด้านบุคลากร ด้านระบบจัดซื้อ/ จัดจ้าง ด้านทรัพยากรองค์กร ด้านงบประมาณ ด้านกฎ ระเบียบพัสดุ ขั้นตอนการจัดซื้อ/ จัดจ้างและปัญหาระบบบริหาร การเงินการคลัง ภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบจัดซื้อ/ จัดจ้าง โดยศึกษาปัจจัยทางด้าน เพศ อายุ ประสบการณ์ทำงานด้านพัสดุ การฝึกอบรม GFMIS แหล่งความรู้ระบบ GFMIS ระยะเวลาความรู้ คอมพิวเตอร์พื้นฐาน คอมพิวเตอร์ที่ใช้ หน่วยงานที่ดูแลบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์ งบประมาณ และแหล่งความรู้ด้านกฎหมายระเบียบพัสดุ โดยวิเคราะห์ผลการศึกษา ด้วยการคำนวณหาร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ ทีเทส (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) การทดสอบรายคู่โดยหาความแตกต่างโดยวิธี LSD และการวิเคราะห์การถดถอยแบบเส้นตรงพหุคูณ (Multiple regression analysis) ผลของการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาระบบบริหารการเงินการคลังภารรัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ GFMIS ระบบจัดซื้อ/จัดจ้าง ได้แก่ ปัจจัยด้านบุคลากร ปัจจัยระบบจัดซื้อ/ จัดจ้าง ปัจจัยด้านทรัพยากรองค์กร ปัจจัยด้านระเบียบพัสดุฯ กระบวนการจัดซื้อ/ จัดจ้างth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการคลังth_TH
dc.subjectการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐth_TH
dc.subjectระบบบริหารการเงินการคลังของรัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์th_TH
dc.subjectสาขาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleความคิดเห็นของผู้ปฏิบัติงานต่อการใช้ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ระบบจัดซื้อ/จัดจ้างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์th_TH
dc.title.alternativeOpinion of personnel toward problems in goverment fiscal and monetary information system, procurement system in Kasetsart Universityen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume7
dc.year2555
dc.description.abstractalternativeThis research has the objectives 1) investigate problems in Government Fiscal Monetary Information system. Procurement system, pf personnel, and 2) to recommend appropriate operation guidelines. The research studied problems about personnel, procurement system, organization resources. budget, package rules and regulations, procurement process, and problems of the procurement system in GFMIS. The study compared gender, age, package working experience. GFMIS training, GFMIS knowledge source, basic computer knowledge, Computer in use, computer maintenance unit, budget, and knowledge source on package rules and regulations. Results of the study were analyzed using Percentage, Mean, Standard deviation, t-test, One-way ANOVA, LSD Paired-comparison, and Multiple Regression Analysis. Results indicate that most of the personnel working in the unit are female, 31-40 years old, and have 0-8 years of package working experience. The problems in overall regarding personnel, procurement system, organization resources, budget, and package rules and regulations of the procurement process are at a moderate level. And the problems of the procurement system in GFMIS are at a high level. Results show that factors which influence the problems of the procurement system in GFMIS Include personnel factor, procurement system factor, organization resources factor, and package rules and regulations factor of the procurement process.en
dc.journalวารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์ = Journal of Graduate School of Commerce Burapha Review
dc.page67-75.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
mba7n2p67-75.pdf1.02 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น