กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2690
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorธงชัย ศรีวรรธนะ
dc.contributor.authorกฤษณา โพธิสารัตนะ
dc.contributor.authorนพดล เดชประเสริฐ
dc.contributor.authorกรินทร์ บุญเลิศวณิชย์
dc.contributor.authorวราภรณ์ วิสนานุศิษย์
dc.contributor.authorธีรัตม์ พิริยะพลิน
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:18:45Z
dc.date.available2019-03-25T09:18:45Z
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2690
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยความได้เปรียบในการแข่งขันต่อความสามารถในการแข่งขันและมิติทางวัฒนธรรม ที่ส่งผลรวมกับความสัมพันธ์นั้น กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้เป็นผู้เป็นบริหารระดับสูงหรือผู้บริหารระดับกลางของบริษัท ในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จำนวน 190 บริษัท ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล ผลการวิจัยปรากฏว่า ปัจจัยความได้เปรียบในการแข่งขัน มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการแข่งขันกับองค์กรในทั้งสามด้าน ความสามารถในการแข่งขัน คือ ความได้เปรียบจากขนาด ความได้เปรียบจากการสร้างความแตกต่าง ความได้เปรียบจากส่วนแบ่งตลาดที่แข่งขัน จากการวิจัยความสัมพันธ์ของมิติทางวัฒนธรรม กับความสามารถในการแข่งขัน พบว่ามิติทางวัฒนธรรม ในด้านความแตกต่างด้านอำนาจ และความแตกต่างด้านการหลีกเลี่ยงความเสี่ยงมีความสัมพันธ์กับความสามารถในการแข่งขันขององค์กร แต่มิติทางวัฒนธรรม ด้านความแตกต่าง ด้านความเป็นส่วนตัว วัฒนธรรมความแตกต่างด้านการแบ่งชาย/หญิง ไม่มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการแข่งขันขององค์กร และเมื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยความได้เปรียบในการแข่งขันกับความสามารถในการแข่งขันและมิติทางวัฒนธรรมในด้านต่าง ๆ ที่ส่งผลร่วมกับความสัมพันธ์นั้น พบว่า มิติทางวัฒนธรรม ด้านความแตกต่างในด้านอำนาจ มิติทางวัฒนธรรม ด้านความแตกต่างด้านความเป็นส่วนตัว มิติทางวัฒนธรรม ด้านความแตกต่างการแบ่งชาย/ หญิง และวัฒนธรรมองค์กร ความแตกต่างด้านการหลีกเลี่ยงความเสี่ยงที่ส่งผลร่วมกับความสัมพันธ์นั้น ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (R-square) มีค่าเพิ่มขึ้นแสดงให้เห็นว่าความได้เปรียบในการแข่งขันจะมีอิทธิพลกับความสามารถในการแข่งขันมากขึ้น โดยขึ้นอยู่กับระดับมิติทางวัฒนธรรมในทุก ๆ ด้านth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการแข่งขันทางการค้าth_TH
dc.subjectนิคมอุตสาหกรรมอมตะนครth_TH
dc.subjectมิติทางวัฒนธรรมth_TH
dc.subjectสาขาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleความสัมพันธ์ของปัจจัยความได้เปรียบในการแข่งขันต่อความสามารถในการแข่งขัน และมิติทางวัฒนธรรมที่ส่งผลร่วมกับความสัมพันธ์ของบริษัทในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe study of relationship between competitive comparative advantage factor on competitive capacities and organization culture jointly influencing such relationship: A case study of companies in Amata Nakorn Industrial Estateen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume7
dc.year2555
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to investigate the relationship between competitive comparative advantage factor on organization competitive capacities and organization culture jointly influencing such relationship of companies in AMATA NAKORN Industrial Estate. The study is based on the survey research using questionnaires to collect the data for 129 samplings from the target population, that is, the high executives and the middle executives of companies in AMATA NAKORN Industrial Estate. In order to analyze the data, both descriptive statistics such as the frequency, the percent frequency, mean, the standard deviation and inference statistics particularly the Simple Regression Analysis and the Moderation Effects Using Multiple Regression. From the study, competitive comparative advantage factor are found out to be related to competitive capacities in all three aspects, namely, economy of scale, product differentiated, and market shares. With respect to organization competitive capacities and organization culture, it is evident that difference in organization culture in terms of distance power and risk averter are found out to be related to organization competitive capacities while difference in individualism collectivism and masculinity-femininity are found out not to be related to organization competitive capacities. In terms of relationship between competitive comparative advantage factor on organization competitive capacities and organization culture jointly influencing such relationship, the R2 of the Moderation Effects Using Multiple Regression based on 4 aspects of organization culture, namely, differences in distance power, risk averter, individualism collectivism, and masculinity-feminity is higher than that shown in Simple Regression Analysis. This means that competitive comparative advantage factor have played an important role to organization competitive capacities depending on all aspects of organization culture.en
dc.journalวารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์ = Journal of Graduate School of Commerce Burapha Review
dc.page55-56.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
mba7n2p55-65.pdf1.16 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น