กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2672
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวิภูษิต มัณฑะจิตร
dc.contributor.authorนงนุช ตั้งเกริกโอฬาร
dc.contributor.authorสมถวิล จริตควร
dc.contributor.authorวรวิทย์ ชีวาพร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:18:44Z
dc.date.available2019-03-25T09:18:44Z
dc.date.issued2545
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2672
dc.description.abstractความผันแปรตามฤดูกาลของสัตว์หน้าดินขนาดใหญ่บริเวณท่าเทียบเรือน้ำลึกมาบตาพุด จังหวัดระยอง ได้ถูกศึกษาเปรียบเทียบระหว่างฤดูฝน คือเดือนมิถุนายนและช่วงฤดูหนาวคือเดือนธันวาคมของปี 2000 การศึกษาในครั้งนี้ ทำการเก็บตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 4 ซ้ำ จาก 8 สถานีด้วยอุปกรณ์ตักดินแบบ Smith-McIntyre (0.0405 ตารางเมตร) จากการศึกษาค่าเฉลี่ยความหนาแน่นและมวลชีวภาพของน้ำหนักเปียกของสัตว์หน้าดินที่ได้จากการร่อนผ่านตะแกรงขนาด 0.5 มิลลิเมตร พบว่าในเดือนมิถุนายน มีค่าเท่ากับ 115+-36 ตัวต่อรางเมตร โดยมีค่าอยู่ระหว่าง 49 ถึง 196 ตัวต่อตารางเมตร และในเดือนธันวาคม 127+-23 ตัวต่อตารางเมตร โดยมีค่าอยู่ระหว่าง 6 ถึง 240 ตัวต่อตารางเมตร ค่าเฉลี่ยมวลชีวภาพของน้ำหนักเปียกมีค่าเท่ากับ 13.26+- 4.2 กรัมต่อตารางเมตร โดยมีค่าอยู่ระหว่าง 2.61 ถึง 31.08 กรัมต่อตารางเมตร ในเดือนมิถุนายนและในเดือนธันวาคม มีค่าเท่ากับ 58.35+-11.17 กรัมต่อตารางเมตร โดยมีค่าอยู่ระหว่าง 0.02 ถึง 258.95 กรัมต่อตารางเมตรสัตว์พื้นทะเลที่พบหนาแน่นมากที่สุดทั้งในเดือนมิถุนายนและธันวาคม ได้แก่ Polychaeta (76.3%) และ 52.1% ของทั้งหมด) รองลงมาคือ Echinodermata (9.9% และ 13.3%), Crustaceana (7.8% และ 16.9%) และ Mollusca (5.3% และ 10.8%) สำหรับมงลชีวภาพของสัตว์พื้นทะเลที่พบสูงที่สุดในเดือนมิถุนายน ได้แก่ Polychaeta (76.4%) รองลงมาได้แก่ Crustacean (10%), Hemichordata (5.7%), Mollusca (4.8%) และ Echinoderm (3.1%) ตามลำดับ และในเดือนธันวาคม มวลชีวภาพของสัตว์พื้นที่ทะเลที่พบสูงที่สุด ได้แก่ Polychaeta (11.63%) รองลงมาได้แก่ Echinoderm และ Mollusca (24.12% และ 24.57% ตามลำดับ) ผลจากการศึกษาชี้ให้เห็นว่า ค่าเฉลี่ยความหนาแน่นและมวลชีวภาพทั้งหมดของสัตว์หน้าดินที่พบในบริเวณที่ศึกษา ในเดือนมิถุนายนมีแนวโน้มต่ำกว่าเดือนธันวาคม อย่างไรก็ตามค่าเฉลี่ยความหนาแน่นและมวลชีวภาพทั้งหมดของสัตว์หน้าดินที่พบในทั้งสองเดือนมีค่าต่ำกว่าค่าที่ได้จากการศึกษาสัตว์หน้าดินในบริเวณอื่น ๆ สาเหตุของการลดลง ของความหนาแน่นและมวลชีวภาพดังกล่าว อาจมีอิทธิพลเนื่องมาจาก การขุดลอกและการก่อสร้างที่เกิดขึ้นอย่าง ต่อเนื่องในบริเวณท่าเทียบเรือน้ำลึกแห่งนี้ การขุดลอกดังกล่าวมีผลทำให้บริเวณนั้นนขุ่น เกิดสารแขวนลอยและดินตะกอนขึ้น ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญตายหรือลดปริมาณความหนาแน่นของสัตว์หน้าดินในบริเวณนั้นth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectสัตว์น้ำth_TH
dc.subjectสัตว์หน้าดิน - - ระยองth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleความผันแปรตามฤดูกาลของสัตว์หน้าดินขนาดใหญ่บริเวณท่าเรือน้ำลึกมาบตาพุด จังหวัดระยองth_TH
dc.title.alternativeSeasonal variation of macrobenthic fauna at the Map-Ta-Phut deep sea port, Rayong provinceen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume2
dc.year2545
dc.description.abstractalternativeSeasonal variation of macrobenthic fauna around the Map-Ta-Phunt Deep Sea Port, Rayong Province was investigated and compared between the rainy season in June and the cold season in Deceber 2000. Four grab (Smith-McIntyre) samples (0.0405 m2) Were taken at each station of all 8 stations which have been studied. Average abundance of macrofauna obtained with 0.5 mm mesh sieve in June was 115+- 36 ind.m2, with a range from 49 to 196 ind.m-2 and in December was 127+-23 ind.m-2, with a rang from 6 to 240 ind.m-2 The average biomass expressed as wet weight in June was 13.26+-4.2 g.m -2 with range from 2.61 to 31.08 g.m-2 and in December was 58.35+- 11.17 g.m-2 with a range from 0.02 to 258.95 g.m-2 Amoung the taxa, the Polychaeta was the most abundant group found both in June and December (76.3% and 52.1% of individuals in June and December respectively) followed by the Echinodermata (9.9% and 13.3%), Crustaceana (7.8% and 16.9%) and Mollusca (5.3% and 10.8%). In term of biomass, in June, Polychaeta obtained the highest proportion among five taxa (Polychaeta 76.4%, Crustacea 10%, Hemichordata 5.7%, Mollusca 4.8% and Echinoderm 3.1%) And in December, Polychaete, Echinoderm and Mollusca was found to have higher proportion among other taxa (11.63%, 24.12% and 24.57% respectively). Results of the study revealed that there was a trend of lower abundance and biomass of macrobentic fauna found in June than those found in December. However, abundance and biomass of macrobenthic fauna found at both periods were lower than those of the previous studies. This probably due to the influence from the continuous drediging of the sediment during the reclamation / construction of the Deep Sea Port. Dreadging is detrimental to benthic fauna by stirring up the bottom sediments and bringing fine particles into suspension and may also be responsible to some extent for the generally low macrobenthic abundance.en
dc.journalวารสารวิชาการสภาอาจารย์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Academic journal, Faculty Senate Council of Burapha University
dc.page25-50.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
25-50.pdf589.65 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น