กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2538
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorศรัณยา เลิศพุทธรักษ์
dc.contributor.authorอรชา สกุลสิงห์
dc.contributor.authorยิ่งยศ โชคชัยวรรัตน์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:16:02Z
dc.date.available2019-03-25T09:16:02Z
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2538
dc.description.abstractการศึกษาปัจจัยด้านการบริหารการจัดการสถานที่ท่องเที่ยวที่มีผลต่อตัดสินใจของนักเที่ยวชาวไทยที่มาใช้บริการของน้ำพุร้อนสวนสาธารณะรักษะวาริน อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของนักท่องเที่ยว ปัจจัยด้านการบริหารการจัดการสถานที่ท่องเที่ยวได้แก่ ด้านกายภาพของทรัพยากรท่องเที่ยว ด้านคุณค่าของทรัพยากรท่องเที่ยว ด้านความนิยมของทรัพยากรท่องเที่ยวด้านความปลอดภัยของทรัพยากรท่องเที่ยว และด้านความเปาระบางของสิ่งแวดล้อมในทรัพยากรท่องเที่ยวที่มีผลต่อการตัดสินใจมาเที่ยวน้ำพุร้อนสวนสาธารณะรักษาวาริน อำเภอเมือง จังหวัดระนอง ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางมาท่องเที่ยวน้ำพุร้อนสวนสาธารณะรักษะวารินจำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลสถิติที่ใช้ คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ Pearson Chi-square ผลการศึกษาพบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย มีอายุระหว่าง 20-30 ปี ศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรี มีสถานภาพโสด ประกอบอาชีพเป็นนักเรียน/นักศึกษา มีรายได้ต่อเดือนต่ำกว่า 10,000 บาท และส่วนใหญ่มีภูมิลำเนาอยู่ในภาคใต้ สำหรับปัจจัยด้านการบริหารการจัดการน้ำพุร้อน ด้านกายภาพ และด้านความนิยมของทรัพยากรการท่องเที่ยวในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านคุณค่า ด้านความปลอดภัย และความเปราะบางของสิ่งแวดล้อมของทรัพยากรท่องเที่ยวในภาพรวมอยู่ในระดับมาก นักท่องเที่ยวเดินทางมาเพื่อท่องเที่ยว/พักผ่อน จำนวนสมาชิกที่เดินทางมาท่องเที่ยวอยู่ระหว่าง 2-4 คน เดินทางมาท่องเที่ยวตามสะดวกด้วยรถยนต์ส่วนตัว นิยมท่องเที่ยวแบบไม่พักค้างแรมมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยโดยเฉลี่ยต่ำกว่า/เท่ากับ 500 บาท และนักท่องเที่ยวส่วนใหญ่เดินทางมาท่องเที่ยวมากกว่า 7 ครั้ง ผลการทดสอบสมมุติฐาน พบว่า สมมติฐานที่ 1 ปัจจัยส่วนบุคคลของนักท่องเที่ยวมีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจมาเที่ยวน้ำพุร้อนสวนสาธารณะรักษะวาริน และสมมติฐานที่ 2 ปัจจัยด้านการบริหารการจัดการสถานที่ท่องเที่ยวได้แก่ ด้านกายภาพ ด้านคุณค่า ด้านความนิยม ด้านความปลอดภัย และด้านความเปราะบางของสิ่งแวดล้อมในทรัพยากรท่องเที่ยวที่มีผลต่อการตัดสินใจมาเที่ยวน้ำพุร้อนสวนสาธารณะรักษะวารินth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการจัดการth_TH
dc.subjectการท่องเที่ยวth_TH
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพth_TH
dc.subjectน้ำพุร้อน - - ไทย - - ระนองth_TH
dc.subjectสาขาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleการศึกษาปัจจัยด้านการบริหารการจัดการสถานที่ท่องเที่ยวที่มีผลต่อการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มาใช้บริการของน้ำพุร้อนสวนสาธารณะรักษะวาริน อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนองth_TH
dc.title.alternativeA study of management factor of tourist sites impacting the decision of thai tourists to use service at Raksawaringeyser Public Park Muang district, Ranong provinceen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume6
dc.year2554
dc.description.abstractalternativeThis research was carried out with the purpose to study personal factors, management factors of tourist sites including the physical resources for tourism, value of the resources for tourism, preference in resources for tourism, safety of the resources, and fragility of the environment of the resources for tourism impacting the decision to visit the Raksawarin Geyser Public Park, Muang District, Ranong province. The sample group consisted of 400 Thai tourists visiting the Raksawarin Geyser Public Park. A questionnaire was used to collect the information which was analyzed using frequency, percentage, stand deviation and the hypothesis was tested Pearsom’s Chi-square. It was found that the majority was female, ages 20-30, the lower than a Bachelor’s degree level of education, single, student and had a monthly income of less then 10,000 Baht. The majority lived in the South. Actors related to management of the geyser, physical factors and preference of the resources for tourism overall are at the highest level. Factors of value, safety and fragility of the environment overall are at a high level. Tourists come to visit/relax, in a group of 2-4 people coming at their convenience in personal vehicles. The visit is made as a day trip, with average expenses less than or equal to 500 Baht and the majority of tourists have visited more than 7 times. From testing the hypothesis it was found that the first hypothesis regarding personal factors of tourists is related to the decision to visit the Raksawarin Geyser Public Park. The second hypothesis on factors related to management of tourist sites including physical factors, value, preference, safety, and fragility of the environment have an impact on the decisionto visit Raksawarin Geyser Public Park.en
dc.journalวารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์ = Journal of Graduate School of Commerce Burapha Review
dc.page69-82.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
69-82.pdf5.28 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น