กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/251
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอภิรดี ปิลันธนภาคย์
dc.contributor.authorสุดารัตน์ สวนจิตร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:47:21Z
dc.date.available2019-03-25T08:47:21Z
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/251
dc.description.abstractจากการสำรวจความหลากหลายของราเอนโดไฟท์ ในเขตอนุรักษ์ป่าชายเลนในภาคตะวันออก โดยเก็บใบพืชชายเลน 6 ชนิดคือ ใบลำพู ใบลำแพน ใบโพธิ์ทะเล ใบพังกาหัวสุมดอกขาว ใบโปร่งขาวและผักเบี้ยทะเลระหว่างเดือนตุลาคม 2553 – พฤษภาคม 2554 รวม 39 ตัวอย่าง สามารถแยกราเอนโดไฟท์และเก็บเป็นเชื้อบริสุทธิ์ได้ทั้งหมด 124 สายพันธ์แยกจากใบโพธ์ทะเลและใบลำพูได้สูงสุดคือ 51 สายพันธ์ และ 43 สายพันธ์ ตามลำดับ พื้นที่พบเอนโดไฟท์หลากหลายที่สุดคือลำพู (4.2 ชนิด/ใบ) การจัดจำแนกราทางสัณฐานวิทยา ลักษณะการเจริญและลักษณะโคโลนีในเบื่องต้น พบรา 83 ชนิด จำนวน 121 สายพันธุ์ และราที่พบ โครงสร้างสืบพันธ์ไม่สมบูรณ์ไม่สามารถจัดกลุ่มได้ (unclassified) 3 สายพันธุ์ ราที่ไม่พบการสร้างสปอร์ (mycelia sterilia) มี 56 ชนิด จากทั้งหมด 83 ชนิด (67.5%) ราในกลุ่ม ascomycete 3 ชนิด (4%) และ hyphomycete 22 ชนิด (26.5%) เอนโดไฟท์ 15 สายพันธุ์ จากจำนวน 85 สายพันธุ์ (17.6%) ที่นำมาทดสอบ สร้างสารยับยั้งราสาเหตูโรคพืช A. brassicicola บนอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA, 0.5x, PDA หรือ LNA เมื่อทดสอบโดยวิธี dual cultures อาหาร PDA และ 0.5x PDA ให้ผลที่ใกล้เคียงกัน ส่วนอาหาร LAN ให้ผลยับยั้งอ่อนเมื่อนำราเอนโดไฟท์ที่ให้ผลยับยั้งบนอาหารเลี้ยงเชื้อดี จำนวน 10 สายพันธุ์ มาสกัดสารออกฤทธิ์ชีวภาพ พบว่ามีเพียงสารสกัดจากราเอนโดไฟท์ Phomopsis sp. TP 121 จากใบโพธิ์ทะเลเท่านั้น ที่สามารถยับยั้ง A.brassicicola ได้ในระดับปานกลาง (ระยะยับยั้ง 0.2-0.6 เซนติเมตร) โดยวิธี disk diffusionth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2554en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectความหลากหลายทางชีวภาพ - - วิจัยth_TH
dc.subjectป่าชายเลนth_TH
dc.subjectพืชชายเลนth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.subjectสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพth_TH
dc.titleความหลากหลายทางชีวภาพของราเอนโดไฟท์จากใบไม้ในเขตอนุรักษ์พืชป่าชายเลนและความสามารถในการสร้างสารยับยั้งรา Alternaria brassicicolath_TH
dc.title.alternativeBiodiversity of endophytic fungi from mangrove plants and their productions of anti Alternaria brassicicolaen
dc.typeResearch
dc.year2554
dc.description.abstractalternativeThe endophytic fungi on leaves of mangrove plants; caseolari, Sonneratian ovata, thespesia populnea, Bruguiera sexangula, ceriops deeandra and sesuvium ortulacustum in mangrove conserved areas in the eastern part of Thailand were collected during October 2010 – May 2011. By examining 39 leave samples, 124 strains were isolated and kept as stock cultures. Most isolates were from T.populnea (51 strains) and S. caseolari (43 strains), respectively. The highest number of fungi isolated per leaf (4.2 fungi / leaf) was from Sonneratia caseolari. Preliminary characteristics recorded 83 different fungi and three unclassified fungi (incomplete reproduction structures). Fifty six fungi (67.5%) were mycelia sterilia. The other fungal records included 3 ascomycetes (4%) and 22 hyphomycetes. (26.5%). Screening of 85 endophytic fungi for antifugal activities against Alternaria brassicicola was conducted on 3 culture media (PDA,0.5x PDA and LAN) in dual cultures. Fifteen endophytic funji (17.6%) inhibited A. brassicicola on either PDA, 0.5x PDA or LAN. The similar results on PDA and 0.5x PDA were observed while the antibiosis level on LNA medium showed weak activity. Among the crude exracts from ten strong antibiosis fungi. Only one extract from endophyte Phomosis sp. TP 121which was isolated from T populnea inhibited A. brassicicola (inhibition distance 0.2 – 0.6 cm).en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น