กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2515
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorเชษฐ์ ศิริสวัสดิ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:16:01Z
dc.date.available2019-03-25T09:16:01Z
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2515
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาชุดสื่อสำหรับออกแบบและสร้างหุ่นยนต์เพื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแบบบูรณาการตามแนวทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา โดยมีวิธีดำเนินการ 4 ขั้นตอน คือ การศึกษาค้นคว้าข้อมูลพื้นฐาน การสร้างชุดสื่อ การทดลองใช้ชุดสื่อ และการประเมินผลและการปรับปรุงชุดสื่อ การดำเนินการดังกล่าวทำให้ได้ ชุดสื่อสำหรับออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ และแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ โดยเครื่องมือดังกล่าวได้ผ่านการพิจารณาจากผู้เชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตรศึกษา จำนวน 5 ท่าน พบว่า ชุดสื่อสำหรับออกแบบและสร้างหุ่นยนต์สามารถผ่านการทดสอบการทำงานได้ทุกประเด็นการทดสอบ ชุดสื่อมีความเหมาะสมของการเป็นสื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตามแนวทฤษฏีการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญาตามเกณฑ์ที่กำหนดทุกประเด็น และทุกองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้มีความเหมาะสมและ ความสอดคล้องกัน ในการนำชุดสื่อสำหรับออกแบบและสร้างหุ่นยนตไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียน วัดราษฎรศรัทธา จังหวัดชลบุรี และมีความสนใจเรียนรู้ด้วยชุดสื่อการออกแบบและ สร้างหุ่นยนต จำนวน 30 คน ใช้ระยะเวลาทดลอง 2 วัน โดยใช้รูปแบบการทดลองแบบกลุ่มเดียวทำการทดสอบก่อนและหลังการทดลองใช้ชุดสื่อ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Dependent t-test และ One-sample t-test พบว่า ผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของนักเรียนหลังการทดลองสูงกว่าก่อนทดลองใช้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดสื่อสำหรับออกแบบและสร้างหุ่นยนตหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ 3.50 อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 และความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้การออกแบบและสร้างหุ่นยนต์หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ 3.50 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงว่า ชุดสื่อสำหรับออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ในการประเมินประสิทธิภาพของชุดสื่อ และสามารถนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไปth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectทฤษฎีสรรคนิยมth_TH
dc.subjectวิทยาการหุ่นยนต์th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยีth_TH
dc.subjectสื่อการสอนth_TH
dc.subjectหุ่นยนต์th_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleการพัฒนาชุดสื่อสำหรับออกแบบและสร้างหุ่นยนต์เพื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแบบบูรณาการตามแนวทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญาth_TH
dc.title.alternativeA development of robolic design material packages for integrative learning science and technology based on constructionism theory
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume23
dc.year2555
dc.description.abstractalternativeThe study was the Research and Development. The main purposes of this research was to develop and implement a Robotic Design Material Packages for Integrative Learning Science and Technology base on Constructionism Theory. The research procedures included 4 steps : study of fundamental data, Robotic Design Material Packages construction, Robotic Design Material Packages implementation, and Robotic Design Material Packages evaluation and revision. Following these steps, Robotic Design Material Packages, and Lessen plan of Robotic Design. Such tools, which were considered by 5 experts from Science Education, : Robotic Design Material Packages was passed the test at any point tested , and appropriate for learning science and technology based on Constructionism Theory to make all issues according to established criteria. And the plans are reasonable and consistent, and the lesson plans was considered in its appropriation and consistency. Finally, the expertise approved the Robotic Design Material Packages and Lessen plan of Robotic Design. The Robotic Design Material Packages was experimented with 30 students from the Lower Secondary student who interested in learning Robotic Design of Watratsattha school in Chonburi Province. The experiment period was 2 days. The one group pretest-posttest design was utilized. The data were analyzed by using the Dependent t-test, and One-sample t-test. The results was that the experiment group had more scores of science and technology after implementing the Robotic Design Material Packages at .01 statistical level. Moreover, the student ‘s appropriation of the Robotic Design Material Packages and Robotic Design Activities was higher than criteria 3.50 at .01 statistical level (high level). The resulted from the experiment thus indicated that this Robotic Design Material Packages met the expected efficiency criteriaen
dc.journalวารสารศึกษาศาสาตร์ = Journal of education
dc.page144-159
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
p144-159.pdf6.45 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น