กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/249
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสุชาติ เถาทองth
dc.contributor.authorนพดล ใจเจริญth
dc.contributor.authorอรอนงค์ เถาทองth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:47:21Z
dc.date.available2019-03-25T08:47:21Z
dc.date.issued2547
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/249
dc.description.abstractการศึกษาเปรียบเทียบประติมากรรมท้องถิ่นภาคตะวันออกตอนบนและภาคตะวันออกตอนล่าง จากการศึกษาพระพุทธรูปและเทวรูป พบว่า รูปแบบประติมากรรมส่วนมากมีลักษณะธรรมดา ศิลปลักษณะมีแบบอย่างคล้ายคลึงกับประติมากรรมในกรุงเทพฯ สมัยรัตนโกสินทร์ระยะหลัง จะมีรูปแบบโดดเด่นมาก ส่วนใหญ่เป็นพระพุทธรูปและเทวรูปที่สำรวจพบในภาคตะวันออกตอนบน (จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดสระแก้ว) สมัยทวราวดี และลพบุรี หรือเขมรในประเทศไทยตามลำดับ ทั้งนี้ วิวัฒนาการของรูปแบบประติมากรรมท้องถิ่นในภาคตะวันออกตอนบนและตอนล่าง มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับการเคลื่อนย้ายของผู้คนในบริเวณนี้เป็นสำคัญth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากงบแผ่นดิน งานทำนุบำรุงศิลปวัมนธรรม มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2547en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectประติมากรรม - - ไทย (ภาคตะวันออก) - - วิจัยth_TH
dc.subjectประติมากรรมพุทธศาสนา - - ไทย (ภาคตะวันออก) - - วิจัยth_TH
dc.subjectพระพุทธรูป - - ไทย (ภาคตะวันออก)th_TH
dc.subjectเทวรูป - - ไทย (ภาคตะวันออก)th_TH
dc.subjectสาขาปรัชญาth_TH
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบประติมากรรมท้องถิ่นภาคตะวันออกตอนบนและภาคตะวันออกตอนล่างของไทยth_TH
dc.title.alternativeA comparative study of the local buddha and deity immage sculptures in the upper and lower Eastern provinces of Thailanden
dc.typeResearch
dc.year2547
dc.description.abstractalternativeThe study of the local Buddha and deity image sculptures in the upper and lower eastern provinces of Thailand revealed that most sculptures were ordinary. The art characeristic was like those of the Buddha and dieity images in Bangkok. The Ratanakosin Buddha and Dieity image sculptures were outstanding. Most Buddha Deity images were found in the upper eastern provinces (Pracheenburi and Srakaew), the characteristic of which were of Trawadee and Loburi or Khmer respectively. Hence, it could be concluded that the evolution of the local Buddha and Deity image sculptures in the upper and lower eastern provinces were related to the pattern of the inhabitants' migration.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น