กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2321
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสถาพร จันทร์พฤกษา
dc.contributor.authorอนงค์ วิเศษสุวรรณ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:14:43Z
dc.date.available2019-03-25T09:14:43Z
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2321
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลการให้คำปรึกษาทฤษฏีโปรแกรมภาษาประสาทสัมผัสด้วยเทคนิคการปรับมโนภาพที่มีต่อความหยุ่นตัวของเด็กทีมีประสบการณ์ทางลบในชีวิต กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กที่มีประสบการณ์ทางลบในชีวิต อายุ 13-21 ปี อยู่ภายใต้การดูแลของสถานสงเคราะห์เด็กชาย จำนวน 10 คน ที่มีคะแนนความหยุ่นตัวต่ำที่สุดเมื่อเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก สุ่มอย่างง่ายเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นโปรแกรมการให้คำปรึกษาทฤษฎีโปรแกรมภาษาประสาทสัมผัสด้วยเทคนิคการปรับมโนภาพ และแบบประเมินความหยุ่นตัว ทำการทดลองเป็นรายบุคคล คนละ 1 ครั้ง ใช้เวลาครั้งละ 40-60 นาที แบบแผนที่ใช้ในการวิจัย คือ การวิจัยเชิงทดลอง แบ่งการทดลองเป็น 3 ระยะ คือ ระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ ประเภทหนึ่งตัวแปรระหว่างกลุ่ม และหนึ่งตัวแปรภายในกลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีการทดลอง กับระยะเวลาการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มพบว่า กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีคะแนนความ หยุ่นตัว ในระยะหลังทดลองและติดตามผล ไม่แตกต่างกัน แต่เมื่อเปรียบเทียบภายในกลุ่มทดลอง พบว่ามีคะแนนความหยุ่นตัวในระยะหลังทดลอง และระยะติดตามผล สูงกว่าระยะก่อนทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการให้คำปรึกษาth_TH
dc.subjectวัยรุ่น - - การให้คำปรึกษาth_TH
dc.subjectวัยรุ่น - - การให้คำปรึกษาด้านทักษะชีวิตth_TH
dc.subjectเด็กที่เป็นปัญหาth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleผลของการให้คำปรึกษาโดยใช้ทฤษฎีโปรแกรมภาษาประสาทสัมผัสต่อความหยุ่นตัวของเด็กที่มีประสบการณ์ทางลบth_TH
dc.title.alternativeThe effects of neuro linguistic programming couseling on resiliency of children with negative experiencesen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue3
dc.volume22
dc.year2554
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effects of Neuro Linguistic Programming Counseling on Resiliency of Children with negative experiences. The samples composed of 10 Children aged 13 – 21 in a home for boys who had low Resilience scores. The simple random sampling was used to assign into two group: an experimental group and a control group with five members in each. The instruments used in this research were the state-Trait Resilience Inventory and the Neuro Linguistic Programming, Visual Kinesthetic Dissociation technique. The sample was individually intervened for one session, 40 – 60 minutes. The study was divided into three phases: the pre-test phase, the post –test phase and the follow – up phase. The data were analyzed through repeated measures analysis of variance: one between – subject variable and one within- subject variable. The results revealed that the interaction between the method and duration of the experiment was statistically significant difference at the .05 level. The levels of resiliency in the experimental and the control groups in the post – test phase and the follow – up phase were not statistically significant difference. The resiliency in the experimental group in the post – test phase and the follow up phase were statistically significant difference higher than the pre – test phase the statistically significant difference was at the .05 levelen
dc.journalวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.page141-153.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
p141-153.pdf4.14 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น